Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2743
Title: IN VITRO INDUCED MUTATION OF STEMONA COLLINSIAE CRAIB  USING ETHYL METHANESULFONATE
การชักนำให้เกิดการกลายของหนอนตายหยากดอกสั้น (Stemona collinsiae Craib)  ด้วยเอทิลมีเทนซัลโฟเนตในหลอดทดลอง
Authors: SAOWALAK PETKONG
เสาวลักษณ์ เพชรคง
Rakchanok Koto
รักชนก โคโต
Srinakharinwirot University
Rakchanok Koto
รักชนก โคโต
rakchanok@swu.ac.th
rakchanok@swu.ac.th
Keywords: หนอนตายหยากดอกสั้น การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช การกลาย เอธิลมีเทนซัลโฟเนต
Stemona collinsiae Plant tissue culture mutation Ethyl methanesulfonate
Issue Date:  24
Publisher: Srinakharinwirot University
Abstract: The root extracts of Stemona collinsiae Craib can be used in the treatment of various diseases and can also be effective in eliminating pests. Therefore, this species has been developed and selected to improve yields. However, it was found that the improved forms were unstable. The purposes of this research are as follows: (1) to optimize the shoot and root induction medium (2) to determine the concentration of ethyl methanesulphonate (EMS), as well as the length of time it took, for this to be lethal to 50% of shoots; and (3) to analyze the genetic variation between mutated plants and the mother plant of S. collinsiae Craib using molecular markers. The results revealed that adventitious shoots developed on MS medium supplemented with 0, 1, 3, 5 and 7 mg/l BA, and that all concentrations showed significant differences (P
สารสกัดจากรากของหนอนตายหยากดอกสั้น (Stemona collinsiae Craib) มีคุณสมบัติในการรักษาโรคและกำจัดแมลงศัตรูพืชจึงมีการปรับปรุงพันธุ์เพื่อให้ได้ผลผลิตตามความต้องการอย่างต่อเนื่อง แต่กลับพบว่าสารสกัดที่ได้ไม่เสถียร และมีโครงสร้างเปลี่ยนแปลงได้ง่าย งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์ คือ 1)  ศึกษาสูตรอาหารที่เหมาะสมต่อการชักนำยอดและรากของหนอนตายหยากดอกสั้นในหลอดทดลอง 2) ศึกษาความเข้มข้นและระยะเวลาในการแช่สาร EMS ที่เหมาะสมต่อการชักนำให้เกิดการตาย 50 เปอร์เซ็นต์ และ 3) วิเคราะห์ความแปรปรวนทางพันธุกรรมระหว่างยอดกลายพันธุ์กับต้นแม่ของหนอนตายหยากดอกสั้นโดยใช้เครื่องหมายโมเลกุล ผลการศึกษาพบว่าการชักนำการเกิดยอดโดยใช้อาหารสูตร Murashige and Skoog (MS) ที่เติมสารควบคุมการเจริญเติบโต 6-benzyadenine (BA) ความเข้มข้น 0, 1, 3, 5 และ 7 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่าอาหารสูตร MS ที่เติมสารควบคุมการเจริญเติบโตในทุกระดับความเข้มข้นให้จำนวนยอดเฉลี่ยแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ (P
URI: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2743
Appears in Collections:Faculty of Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs631110009.pdf4.24 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.