Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2637
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | ELWIN THANPAISARNSAMUT | en |
dc.contributor | เอลวิน ธารไพศาลสมุทร | th |
dc.contributor.advisor | Skol Voracharoensri | en |
dc.contributor.advisor | สกล วรเจริญศรี | th |
dc.contributor.other | Srinakharinwirot University | en |
dc.date.accessioned | 2024-01-15T01:25:30Z | - |
dc.date.available | 2024-01-15T01:25:30Z | - |
dc.date.created | 2023 | |
dc.date.issued | 15/12/2023 | |
dc.identifier.uri | http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2637 | - |
dc.description.abstract | The purposes of this research are as follows: (1) to study the components of the factor of digital emotional intelligence of adolescent students; (2) to investigate the concordance of digital emotional intelligence of adolescent students model with the empirical data; (3) to construct a model of guidance activities blended learning to enhance digital emotional intelligence; (4) to compare the digital emotional intelligence of experimental adolescent students before and after the experiment, and the follow-up; and (5) to compare the digital emotional intelligence of adolescent students before and after the experiment, and the follow-up on the experimental and the control group. The sample used in the study were adolescent students studying in a secondary school in Bangkok. The first group included ten key informants and 400 students. The second group included 40 students in the experimental group. The results of the research were as follows: (1) the components of digital emotional intelligence of adolescent students consisted of five components: self-awareness, self-regulation, self-motivation, interpersonal skills and empathy; (2) the digital emotional intelligence model in accordance was fit with the empirical data; (3) the guidance activities blended learning consists of three steps: introduction, teaching and conclusion, with the application of psychological theories and techniques to enhance digital emotional intelligence; (4) the experimental group had digital emotional intelligence before the experiment, after experiment and the follow-up were significantly at .05; and (5) the digital emotional intelligence of the experimental group after the experiment and follow-up was significantly higher that of the control group at a level of .05 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบความฉลาดทางอารมณ์ในโลกดิจิทัลของนักเรียนวัยรุ่น 2) เพื่อตรวจสอบความสอดคล้องระหว่างโมเดลการวัดความฉลาดทางอารมณ์ในโลกดิจิทัลของนักเรียนวัยรุ่นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3) เพื่อสร้างรูปแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยกิจกรรมแนะแนวแบบผสมผสานเพื่อเสริมสร้างความฉลาดทางอารมณ์ในโลกดิจิทัลของนักเรียน 4) เพื่อเปรียบเทียบความฉลาดทางอารมณ์ในโลกดิจิทัลของนักเรียนวัยรุ่นกลุ่มทดลอง ก่อนการทดลอง หลังการทดลอง และการติดตามผล และเพื่อเปรียบเทียบความฉลาดทางอารมณ์ในโลกดิจิทัลของนักเรียนวัยรุ่น ก่อนการทดลอง หลังการทดลอง และการติดตามผล ของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนในเขตกรุงเทพมหานคร ได้แก่ ระยะที่ 1 ผู้ให้ข้อมูลหลักจำนวน 10 คน และนักเรียนจำนวน 400 คน ระยะที่ 2 นักเรียนกลุ่มทดลอง จำนวน 40 คน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1) องค์ประกอบของความฉลาดทางอารมณ์ในโลกดิจิทัลของนักเรียนวัยรุ่น ได้แก่ การตระหนักรู้ในตนเอง การกำกับตนเอง การจูงใจในตนเอง ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความเห็นอกเห็นใจ 2) โมเดลโครงสร้างความฉลาดทางอารมณ์ในโลกดิจิทัลของนักเรียนวัยรุ่นมีลักษณะสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3) การจัดการเรียนรู้ด้วยกิจกรรมแนะแนวแบบผสมผสานประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ขั้นดำเนินการสอน และขั้นสรุป โดยมีการประยุกต์ทฤษฎีและเทคนิคทางจิตวิทยามาใช้ในการเสริมสร้างความฉลาดทางอารมณ์ในโลกดิจิทัล 4) กลุ่มทดลองที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยกิจกรรมแนะแนวแบบผสมผสานมีความฉลาดทางอารมณ์ในโลกดิจิทัลก่อนการทดลอง หลังการทดลอง และติดตามผล มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และกลุ่มทดลองที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยกิจกรรมแนะแนวแบบผสมผสานก่อนการทดลอง หลังการทดลอง และติดตามผลแตกต่างกับกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Srinakharinwirot University | |
dc.rights | Srinakharinwirot University | |
dc.subject | การจัดการเรียนรู้กิจกรรมแนะแนวแบบผสมผสาน | th |
dc.subject | ความฉลาดทางอารมณ์ในโลกดิจิทัล | th |
dc.subject | นักเรียนวัยรุ่น | th |
dc.subject | การวิเคราะห์องค์ประกอบ | th |
dc.subject | Guidance activities blended learning | en |
dc.subject | Digital emotional intelligence | en |
dc.subject | Adolescent students | en |
dc.subject | Factor analysis | en |
dc.subject.classification | Psychology | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.subject.classification | Training for teachers with subject specialisation | en |
dc.title | STUDY AND ENHANCEMENT OF DIGITAL EMOTIONAL INTELLIGENCE FOR ADOLESCENT STUDENTS THROUGH GUIDANCE ACTIVITIES BLENDED LEARNING | en |
dc.title | การศึกษาและการเสริมสร้างความฉลาดทางอารมณ์ในโลกดิจิทัลของนักเรียนวัยรุ่นโดยการจัดการเรียนรู้กิจกรรมแนะแนวแบบผสมผสาน | th |
dc.type | Dissertation | en |
dc.type | ปริญญานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Skol Voracharoensri | en |
dc.contributor.coadvisor | สกล วรเจริญศรี | th |
dc.contributor.emailadvisor | skol@swu.ac.th | |
dc.contributor.emailcoadvisor | skol@swu.ac.th | |
dc.description.degreename | DOCTOR OF EDUCATION (Ed.D.) | en |
dc.description.degreename | การศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.) | th |
dc.description.degreelevel | - | en |
dc.description.degreelevel | - | th |
dc.description.degreediscipline | Department of Guidance And Educational Psychology | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาการแนะแนวและจิตวิทยาการศึกษา | th |
Appears in Collections: | Faculty of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
gs631150009.pdf | 5.66 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.