Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2621
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | WORANITTHA TEERARITCHALERM | en |
dc.contributor | วรนิษฐา ธีรฤทธิ์เฉลิม | th |
dc.contributor.advisor | Suthawan Harnkajornsuk | en |
dc.contributor.advisor | สุธาวัลย์ หาญขจรสุข | th |
dc.contributor.other | Srinakharinwirot University | en |
dc.date.accessioned | 2024-01-15T01:25:28Z | - |
dc.date.available | 2024-01-15T01:25:28Z | - |
dc.date.created | 2023 | |
dc.date.issued | 15/12/2023 | |
dc.identifier.uri | http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2621 | - |
dc.description.abstract | The purposes of this research are (1) to find an index of effectiveness of brain-based activity sets on the subject of ‘the sun and life’; (2) to compare the post-learning achievement of students who received activity sets on brain-based learning with students who received normal learning; (3) to compare the pre-study and post-study academic achievement of students who received activity sets on brain-based learning; (4) to compare learning retention after learning and activity sets that focused on brain-based learning with students who received normal learning; (5) to compare the persistence of learning after studying for Grade Three students after learning for two weeks after studying; (6) to compare the happiness in learning after learning of students who received activity sets on brain-based learning and normal learning; and (7) to compare the happiness in learning before and after class with normal learning. The research design was quasi-experimental. The sample group were third-grade students at Wat Sap Samosorn School, Bangkok, Room Two, who were randomly divided. Simple random sampling divided students into two groups: an experimental group provided with activities focused on brain-based learning and a control group who received normal learning management. The research time was 10 hours. The tools used in the research included the following: (1) a set of activities on brain-based learning; (2) a learning management plan that emphasized brain-based learning; (3) a normal learning plan; (4) an academic achievement test; (5) a Happiness in Learning scale; and a (6) Learning Outcome Reflection Record Form. The statistics used to test the hypothesis were t-tests. The research results found: (1) the brain-based activity set had an effectiveness index of 0.5660; (2) students who had activity sets that emphasized brain-based learning. Their academic achievement after studying was significantly higher than students who received normal learning at .05; (3) students that focused on brain-based learning with higher academic achievement after studying and with a statistical significance of .05; (4) students that focused on brain-based learning had higher learning persistence than students at a .05 level; (5) students who focused on brain-based learning had no difference in persistence in learning after two weeks of study compared to after the first study; (6) students who focused on brain-based learning had higher learning happiness after studying and who received normal learning at a statistical significance of .05; and (7) students that focused on brain-based learning had higher learning happiness after studying than before, with a statistical significance of .05. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีจุดประสงค์ 1) เพื่อหาดัชนีประสิทธิผลของชุดกิจกรรมที่เน้นสมองเป็นฐาน เรื่องดวงอาทิตย์กับการดำรงชีวิต 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนของนักเรียนที่ได้รับชุดกิจกรรมที่เน้นการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานกับนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ 3) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนที่ได้รับชุดกิจกรรมที่เน้นการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน 4) เพื่อเปรียบเทียบความคงทนในการเรียนรู้หลังเรียนของนักเรียนที่ได้รับชุดกิจกรรมที่เน้นการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานกับนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ 5) เพื่อเปรียบเทียบความคงทนในการเรียนรู้หลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เมื่อเรียนรู้ผ่านไป 2 สัปดาห์ กับหลังเรียนครั้งที่ 1ของนักเรียนที่ได้รับชุดกิจกรรมที่เน้นการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน 6) เพื่อเปรียบเทียบความสุขในการเรียนรู้หลังเรียนของนักเรียนที่ได้รับชุดกิจกรรมที่เน้นการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานกับนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ 7) เพื่อเปรียบเทียบความสุขในการเรียนรู้ก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ แบบแผนที่ใช้ในการวิจัยคือแบบแผนการวิจัยกึ่งทดลอง เปรียบเทียบระหว่างกลุ่ม ทดสอบก่อนและหลังการทดลอง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวัดทรัพย์สโมสร กรุงเทพมหานคร จำนวน 2 ห้อง ซึ่งได้จากการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม โดยใช้หน่วยสุ่มแบบห้องเรียน จากนั้นทำการสุ่มอย่างง่ายเพื่อแบ่งนักเรียนออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มทดลอง 1 ห้อง จำนวน 27 คน ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมที่เน้นการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน และกลุ่มควบคุม 1 ห้อง จำนวน 27 คน ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ ระยะเวลาในการวิจัยจำนวน 10 ชั่วโมง เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย คือ 1) ชุดกิจกรรมที่เน้นการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน 2) แผนจัดการเรียนรู้ที่ใช้ชุดกิจกรรมที่เน้นการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน 3) แผนจัดการเรียนรู้แบบปกติ 4) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5) แบบวัดความสุขในการเรียนรู้ และ 6) แบบบันทึกการสะท้อนผลการเรียนรู้ สถิติที่ใช้ทดสอบสมมติฐาน คือ การทดสอบที (t-test for Dependent Samples และ t-test for Independent Samples) ผลการวิจัยพบว่า 1) ชุดกิจกรรมที่เน้นสมองเป็นฐานมีค่าดัชนีประสิทธิผล 0.5660 2) นักเรียนที่ได้รับชุดกิจกรรมที่เน้นการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่านักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) นักเรียนที่ได้รับชุดกิจกรรมที่เน้นการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4) นักเรียนที่ได้รับชุดกิจกรรมที่เน้นการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานมีความคงทนในการเรียนรู้สูงกว่านักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 5) นักเรียนที่ได้รับชุดกิจกรรมที่เน้นการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานมีความคงทนในการเรียนรู้หลังเรียนหลังจากผ่านไป 2 สัปดาห์ เทียบกับหลังเรียนครั้งที่ 1 ไม่แตกต่างกัน 6) นักเรียนที่ได้รับชุดกิจกรรมที่เน้นการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานมีความสุขในการเรียนรู้หลังเรียนสูงกว่านักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 7) นักเรียนที่ได้รับชุดกิจกรรมที่เน้นการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานมีความสุขในการเรียนรู้หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Srinakharinwirot University | |
dc.rights | Srinakharinwirot University | |
dc.subject | ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ | th |
dc.subject | การจัดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน | th |
dc.subject | ความคงทนในการเรียนรู้ | th |
dc.subject | ความสุขในการเรียนรู้ | th |
dc.subject | Learning activity package | en |
dc.subject | Brain-based learning management | en |
dc.subject | Persistence of learning | en |
dc.subject | Happiness in learning | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.subject.classification | Education science | en |
dc.title | DEVELOPMENT OF BRAIN-BASED LEARNING ACTIVITY PACKAGE FOR ENHANCING SCIENCE ACHIEVEMENT AND LEARNING HAPPINESS OF GRADE THREE STUDENTS | en |
dc.title | การพัฒนาชุดกิจกรรมที่เน้นสมองเป็นฐานเพื่อส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ และความสุขในการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | ปริญญานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Suthawan Harnkajornsuk | en |
dc.contributor.coadvisor | สุธาวัลย์ หาญขจรสุข | th |
dc.contributor.emailadvisor | suthawan@swu.ac.th | |
dc.contributor.emailcoadvisor | suthawan@swu.ac.th | |
dc.description.degreename | MASTER OF EDUCATION (M.Ed.) | en |
dc.description.degreename | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | - | en |
dc.description.degreelevel | - | th |
dc.description.degreediscipline | Department of Curriculum And Instruction | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาหลักสูตรและการสอน | th |
Appears in Collections: | Faculty of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
gs631130070.pdf | 7.67 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.