Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/249
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorRATCHANEE IM - OGen
dc.contributorรัชนี อิ่มอกth
dc.contributor.advisorSiriwan Sripaholen
dc.contributor.advisorสิริวรรณ ศรีพหลth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot University. INSTITUTE OF RESEARCH IN BEHAVIORAL SCIENCEen
dc.date.accessioned2019-08-05T07:36:06Z-
dc.date.available2019-08-05T07:36:06Z-
dc.date.issued19/7/2019
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/249-
dc.descriptionDOCTOR OF PHILOSOPHY (Ph.D.)en
dc.descriptionปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.abstractThe objectives of this research are as follows: (1) to develop and determine the efficacy of the development of an instructional model based on the principles of His Majesty the King Rama IX regarding active citizenship; (2) to evaluate the effectiveness of the instructional model based on the working principles of His Majesty the King Rama IX regarding active citizenship. The research methodology used a research and development process in applying the Quasi-Equivalent Control Group Design. The sample group used in this research consisted of Grade Six students in the 2018 academic year. The research instruments included: (1) a manual on the development of an instructional model based on the principles of His Majesty the King Rama IX on active citizenship and lesson plans; (2) the data collection tools, questions pertaining to active citizenship and a questionnaire on the satisfaction of the learners. The theory applied in this research was learning theory, based on constructivist theory learning. The results of this research were as follows: (1) the development of an instructional model based on the principles of His Majesty the King Rama IX on active citizenship known as the ADADS MODEL. Most (Mean = 4.94, SD = 0.13); (2) the results of the experiment, using the development of an instructional model based on the principles of His Majesty the King Rama IX on active citizenship revealed the following: (2.1) a comparison of learning management styles according to the instructional model, which had a statistical significance  level of .05 after learning with the instructional model; (2.2) to compare the learning outcomes of the groups used the instructional model, which was found to be higher than the normal learning styles of schools with a statistical significance at a level of .05, with an average score for the experimental group ( Mean = 32.40 S.D = 4.24) and a higher than average score for the control group (Mean = 21.97 S.D = 3.62); (3) the satisfaction levels of the students using the instructional model were found to be at the highest level (Mean = 4.97, S.D = 0.12).en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1)เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพรูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 เพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองดีที่ใส่ใจในสังคม 2)เพื่อประเมินประสิทธิผลรูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 เพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองดีที่ใส่ใจในสังคม การศึกษาใช้ระเบียบวิธีวิจัยคือใช้กระบวนการวิจัยและพัฒนา (R &D) แบบแผนการทดลองแบบ Quasi-Equivalent Control Group Design  กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่รูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 เพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองดีที่ใส่ใจในสังคม, แผนการจัดการเรียนรู้ 2)เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบทดสอบวัดผลด้านความรู้ในเรื่องความเป็นพลเมืองดีที่ใส่ใจในสังคม และแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้เรียนทฤษฎีที่ใช้ในการวิจัยคือ ทฤษฎีการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ ผลการวิจัยพบว่า 1) รูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 เพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองดีที่ใส่ใจในสังคม มีชื่อว่า ของ ADADS MODEL ผลการตรวจสอบคุณภาพของรูปแบบการจัดการเรียนรู้ ได้ค่าความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด ( Mean = 4.94 , S.D = 0.13) 2) ผลของการทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 เพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองดีที่ใส่ใจในสังคม พบว่า 2.1)ผลการเปรียบเทียบรูปแบบการจัดการเรียนรู้ ในระยะก่อนเรียนและหลังเรียน พบว่าหลังการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้นักเรียนมีความเป็นพลเมืองไทยที่ใส่ใจในสังคมเพิ่มสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2.2)เพื่อเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ของกลุ่มที่ใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ พบว่าผู้เรียนในกลุ่มทดลองมีคะแนนหลังเรียนสูงกว่าผู้เรียนในกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05โดยคะแนนเฉลี่ยกลุ่มทดลอง (Mean=32.40 S.D= 4.24) สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของกลุ่มควบคุม ( Mean = 21.97 , S.D= 3.62) 3) ผลความพึงพอใจของนักเรียนที่ใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ พบว่า นักเรียน มีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (Mean = 4.97 , S.D = 0.12)  th
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectรูปแบบการจัดการเรียนรู้th
dc.subjectหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9th
dc.subjectความเป็นพลเมืองดีth
dc.subjectInstructional model developmenten
dc.subjectPrinciples of HM the King Rama IXen
dc.subjectActive citizenshipen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleDEVELOPMENT OF INSTRUCTIONAL MODEL BASED ON THE  PRINCIPLES OF HIS MAJESTY THE KING RAMA IX ON ACTIVE CITIZENSHIPen
dc.titleการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 เพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองดีที่ใส่ใจในสังคมth
dc.typeDissertationen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
Appears in Collections:Institute of Research in Behavioral Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs561150076.pdf4.99 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.