Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2484
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | URATSAYA MEEMAMAE | en |
dc.contributor | อุรัสยา มีมะแม | th |
dc.contributor.advisor | Kanrawee Wichaipa | en |
dc.contributor.advisor | กานต์รวี วิชัยปะ | th |
dc.contributor.other | Srinakharinwirot University | en |
dc.date.accessioned | 2023-09-26T07:58:37Z | - |
dc.date.available | 2023-09-26T07:58:37Z | - |
dc.date.created | 2023 | |
dc.date.issued | 21/7/2023 | |
dc.identifier.uri | http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2484 | - |
dc.description.abstract | The research on the factors affecting the success of government agencies in building acceptance for housing development in the Din Dang district aimed to observe the process of government agencies in building public acceptance and exploring the factors affecting the success in building acceptance for improving the community in the Din Dang district, Bangkok. This was qualitative research with the key performance, including responsible government officers, the people and the leaders in the Din Daeng community were interviewed in-depth. The collected data was analyzed through the theory and related research. The results showed that the key process initiated by the public survey and hearing for modifying the operation process. Besides, changing attitudes, supporting and encourage the people participating the housing improvement as well as education and monitoring. Those were consistent with the new public service (NPS) and governance process. The success factors included: (1) personal factors, namely, openness to new things and coping with uncertainty, as well as knowledge and understanding of impact; (2) operation factors, such as public participation, transparency, accountability, equality, leadership and seamless policy and good administration; and (3) other factors, such as knowledge of staff. The findings could be applied to nearby communities in terms of the issue of building acceptance. In addition, it could be used as a guideline to create public acceptance for housing development and propose policy for the responsibility of government agencies. | en |
dc.description.abstract | งานวิจัยเรื่อง ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของหน่วยงานภาครัฐในการสร้างการยอมรับจากประชาชน เพื่อพัฒนาที่อยู่อาศัยของชุมชนดินแดง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนของหน่วยงานภาครัฐในการสร้างการยอมรับจากประชาชน และศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการสร้างการยอมรับของประชาชนต่อการดำเนินการฟื้นฟูเมืองชุมชนดินแดง กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก จากกลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญ คือ กลุ่มเจ้าหน้าที่หน่วยงานภาครัฐที่รับผิดชอบดำเนินการฟื้นฟูเมืองชุมชนดินแดง กลุ่มประชาชนชุมชนดินแดง และผู้นำชุมชนดินแดง พร้อมทั้งนำข้อมูลมาวิเคราะห์ผ่านการใช้แนวคิดทฤษฎี รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ผลการศึกษาพบว่า หน่วยงานภาครัฐมีกระบวนการในการสร้างการยอมรับ เริ่มจากการลงพื้นที่สำรวจสถานการณ์และความคิดเห็นของประชาชน เพื่อปรับเปลี่ยนวิธีกระบวนการดำเนินการ และร่วมกันหารือลงความเห็นเพื่อเปลี่ยนแปลงทัศนคติของเจ้าหน้าที่ทุกคน จากผู้ที่เป็นเจ้าของโครงการ ไปสู่การเป็นผู้ที่สนับสนุนประชาชน และส่งเสริมเปิดกว้างให้ประชาชนเข้ามามีบทบาทและส่วนร่วมในการฟื้นฟู ตลอดจนมีการสร้างความเข้าใจให้ข้อมูลกับประชาชน และการตรวจสอบติดตามผล โดยสอดคล้องกับแนวคิดการบริการสาธารณะแนวใหม่ (NPS) และการบริหารจัดการปกครอง (Governance) ทุกขั้นตอน ขณะที่ ในส่วนของปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการสร้างการยอมรับของประชาชนต่อการดำเนินการฟื้นฟูเมืองชุมชนดินแดง กรุงเทพมหานคร พบว่ามีปัจจัยที่ส่งผลทั้งหมด 8 ปัจจัย ได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคล คือ (1) การเปิดรับสิ่งใหม่ และการรับมือกับความไม่แน่นอน (2) ความรู้และเข้าใจ รับรู้ผลกระทบ ปัจจัยด้านการดำเนินงาน คือ (1) การมีส่วนร่วมของประชาชน (2) ความโปร่งใส ตรวจสอบได้ (3) การจัดสรรผลประโยชน์ทั่วถึง และเท่าเทียม (4) บทบาทของผู้นำชุมชน (5) การบริหารนโยบายอย่างต่อเนื่อง และมีการจัดการที่ดี และปัจจัยอื่น ๆ คือ ความรู้ความสามารถของเจ้าหน้าที่ ดังนั้น จากผลการศึกษาภาครัฐควรนำผลการวิจัยเสนอให้กับชุมชนที่ยังติดปัญหาในประเด็นของการสร้างการยอมรับ หรือต้องการทราบถึงปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จ ในชุมชนที่มีบริบบทใกล้เคียง เพื่อใช้เป็นแนวทางในการสร้างการยอมรับจากประชาชนในพื้นที่เพื่อให้ประสบผลสำเร็จต่อไป รวมถึงนำผลการวิจัยเสนอหน่วยงานภาครัฐอื่น เพื่อเป็นแนวทางให้สามารถสร้างการยอมรับจากประชาชนในนโยบายหนึ่ง ๆ ที่เป็นความรับผิดชอบของหน่วยงานนั้น ๆ ได้ | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Srinakharinwirot University | |
dc.rights | Srinakharinwirot University | |
dc.subject | การสร้างการยอมรับจากประชาชน | th |
dc.subject | ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จ | th |
dc.subject | ดำเนินการฟื้นฟูเมืองชุมชนดินแดง | th |
dc.subject | การมีส่วนร่วมของประชาชน | th |
dc.subject | Building acceptance | en |
dc.subject | Success factors | en |
dc.subject | Housing development | en |
dc.subject | Public participation | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Public administration and defence; compulsory social security | en |
dc.title | THE FACTORS AFFECTING TO THE SUCCESS OF GOVERNMENT AGENCY IN BUILDING ACCEPTANCE FOR HOUSING DEVELOPMENT IN DIN DAENG DISTRICT | en |
dc.title | ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของหน่วยงานภาครัฐในการสร้างการยอมรับจากประชาชน เพื่อพัฒนาที่อยู่อาศัยของชุมชนดินแดง | th |
dc.type | Master’s Project | en |
dc.type | สารนิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Kanrawee Wichaipa | en |
dc.contributor.coadvisor | กานต์รวี วิชัยปะ | th |
dc.contributor.emailadvisor | kanrawee@swu.ac.th | |
dc.contributor.emailcoadvisor | kanrawee@swu.ac.th | |
dc.description.degreename | MASTER OF PUBLIC ADMINISTRATION (M.P.A.) | en |
dc.description.degreename | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รป.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | - | en |
dc.description.degreelevel | - | th |
dc.description.degreediscipline | Department of Political Science | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชารัฐศาสตร์ | th |
Appears in Collections: | Faculty of Social Sciences |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
gs641130233.pdf | 3.49 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.