Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2473
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | WORRALUCK WEERAYUTH | en |
dc.contributor | วรลักษณ์ วีระยุทธ | th |
dc.contributor.advisor | Nuntana Wongthai | en |
dc.contributor.advisor | นันทนา วงษ์ไทย | th |
dc.contributor.other | Srinakharinwirot University | en |
dc.date.accessioned | 2023-09-26T07:50:06Z | - |
dc.date.available | 2023-09-26T07:50:06Z | - |
dc.date.created | 2023 | |
dc.date.issued | 21/7/2023 | |
dc.identifier.uri | http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2473 | - |
dc.description.abstract | This research aims to analyze the meaning constructions of noun-noun compounds in Thai and to analyze the cognitive process of Thai language users in the construction of noun-noun compounds within the conceptual blending theory and a framework of meaning construction analysis. The data were collected from noun-noun compounds appearing in Royal Institute Dictionary and Klangkam (revised edition). The results of analyzing the meaning constructions of noun-noun compounds in Thai found that there are two major types of noun-noun compounds in Thai: endocentric noun-noun compounds and exocentric noun-noun compounds. In the case of endocentric noun-noun compounds, five subtypes were identified: (1) noun-noun compounds with original meaning-based profile determinant and an original meaning-based modifier; (2) noun-noun compounds with original meaning-based profile determinant and a metaphor-based modifier; (3) noun-noun compounds with original meaning-based profile determinant and a metonymy-based modifier; (4) noun-noun compounds with metaphor-based profile determinant and an original meaning-based modifier; (5) noun-noun compounds with metonymy-based profile determinant and an original meaning-based modifier. In the case of exocentric noun-noun compounds, four subtypes were identified: (1) noun-noun compounds with metaphor-based profile determinant and a metaphor-based modifier; (2) noun-noun compounds with metaphor-based profile determinant and a metonymy-based modifier; (3) noun-noun compounds with metonymy-based profile determinant and a metonymy-based modifier; (4) noun-noun compounds with metonymy-based profile determinant and a metaphor-based modifier. The analysis for the cognitive process of Thai language users in the construction of noun-noun compounds revealed that the meanings of noun-noun compounds in Thai in both endocentric noun-noun compounds and exocentric noun-noun compounds are related to conceptual metaphors and conceptual metonymy. This reflects comparative thinking of Thai language users in the construction of noun-noun compounds. | en |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์โครงสร้างทางความหมายของคำประสมแบบนาม-นามในภาษาไทย และวิเคราะห์กระบวนการทางปริชานของผู้ใช้ภาษาไทยในการสร้างคำประสมแบบนาม-นาม โดยใช้ทฤษฎีหลอมรวมมโนทัศน์และกรอบการวิเคราะห์กระบวนการทางความหมายของคำประสม ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษารวบรวมจากคำประสมแบบนาม-นามที่ปรากฏในพจนานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน และคำประสมแบบนาม-นามที่ปรากฏในหนังสือคลังคำ (ฉบับปรับปรุง) ผลการวิเคราะห์โครงสร้างทางความหมายของคำประสมแบบนาม-นามในภาษาไทย พบว่า โครงสร้างทางความหมายของคำประสมแบบนาม-นามในภาษาไทยแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ได้แก่ คำประสมแบบนาม-นามที่เป็นคำประสมแบบเข้าศูนย์ และคำประสมแบบนาม-นามที่เป็นคำประสมแบบออกศูนย์ คำประสมแบบนาม-นามที่เป็นคำประสมแบบเข้าศูนย์ แบ่งออกได้เป็น 5 ประเภทย่อย ได้แก่ 1) คำประสมที่มีส่วนแสดงความเด่นและส่วนขยายเป็นคำที่มีเค้าความหมายเดิม 2) คำประสมที่มีส่วนแสดงความเด่นเป็นคำที่มีเค้าความหมายเดิมและส่วนขยายเป็นอุปลักษณ์ 3) คำประสมที่มีส่วนแสดงความเด่นเป็นคำที่มีเค้าความหมายเดิมและส่วนขยายเป็นนามนัย 4) คำประสมที่มีส่วนแสดงความเด่นเป็นอุปลักษณ์และส่วนขยายเป็นคำที่มีเค้าความหมายเดิม และ 5) คำประสมที่มีส่วนแสดงความเด่นเป็นนามนัยและส่วนขยายเป็นคำที่มีเค้าความหมายเดิม คำประสมแบบนาม-นาม ที่เป็นคำประสมแบบออกศูนย์ แบ่งออกได้เป็น 4 ประเภทย่อย ได้แก่ 1) คำประสมที่มีส่วนแสดงความเด่นและส่วนขยายเป็นอุปลักษณ์ 2) คำประสมที่มีส่วนแสดงความเด่นเป็นอุปลักษณ์ และส่วนขยายเป็นนามนัย 3) คำประสมที่มีส่วนแสดงความเด่นและส่วนขยายเป็นนามนัย และ 4) คำประสมที่มีส่วนแสดงความเด่นเป็นนามนัยและส่วนขยายเป็นอุปลักษณ์ ผลการวิเคราะห์กระบวนการทางปริชานของผู้ใช้ภาษาไทยในการสร้างคำประสมแบบนาม-นาม พบว่า ความหมายของคำประสมแบบนาม-นาม ในภาษาไทย ทั้งคำประสมแบบนาม-นามที่เป็นคำประสมแบบเข้าศูนย์และคำประสมแบบนาม-นามที่เป็นคำประสมแบบออกศูนย์ เกี่ยวข้องกับอุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์และนามนัยเชิงมโนทัศน์ สะท้อนให้เห็นความคิดแบบเปรียบเทียบของผู้ใช้ภาษาไทยในการสร้างคำประสมแบบนาม-นาม | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Srinakharinwirot University | |
dc.rights | Srinakharinwirot University | |
dc.subject | การหลอมรวมมโนทัศน์ | th |
dc.subject | คำประสม | th |
dc.subject | อุปลักษณ์ | th |
dc.subject | นามนัย | th |
dc.subject | conceptual blending | en |
dc.subject | compound | en |
dc.subject | metaphor | en |
dc.subject | metonymy | en |
dc.subject.classification | Arts and Humanities | en |
dc.subject.classification | Arts, entertainment and recreation | en |
dc.title | CONCEPTUAL BLENDING IN THE MEANING CONSTRUCTIONOF NOUN-NOUN COMPOUNDS IN THAI | en |
dc.title | การหลอมรวมมโนทัศน์ในกระบวนการทางความหมายของคำประสมแบบนาม-นาม ในภาษาไทย | th |
dc.type | Dissertation | en |
dc.type | ปริญญานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Nuntana Wongthai | en |
dc.contributor.coadvisor | นันทนา วงษ์ไทย | th |
dc.contributor.emailadvisor | nuntanaw@swu.ac.th | |
dc.contributor.emailcoadvisor | nuntanaw@swu.ac.th | |
dc.description.degreename | DOCTOR OF PHILOSOPHY (Ph.D.) | en |
dc.description.degreename | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) | th |
dc.description.degreelevel | - | en |
dc.description.degreelevel | - | th |
dc.description.degreediscipline | Department of Linguitics | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาภาษาศาสตร์ | th |
Appears in Collections: | Faculty of Humanities |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
gs601120035.pdf | 5.1 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.