Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/240
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSOMRUDEE WANNAKLADen
dc.contributorสมฤาดี วรรณกลัดth
dc.contributor.advisorWilawan Dansirisuken
dc.contributor.advisorวิลาวัลย์ ด่านสิริสุขth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot University. Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2019-08-05T07:33:56Z-
dc.date.available2019-08-05T07:33:56Z-
dc.date.issued19/7/2019
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/240-
dc.descriptionMASTER OF EDUCATION (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe subjects of this study consisted of Fifty-eight Primary Grade Five students who were studying during the first semester of 2018 academic year at Yaring School in Pattani. The sample was selected from two classes, with twenty-nine students per class, using Cluster Random Sampling. Then, Simple Random Sampling was applied for dividing classes into experimental and control groups. The experimental group focused on active learning and The control group used Traditional learning management. The research instrument used in the study included 1) the scheme of active learning entitled Drugs, Addictive Substances and Social Media with seven plans (Content Validity = Very suitable)  2) the achievement test had twenty items. (p = 0.40 -0.80 r=0.20-0.53, KR-20=0.73)  3) the group working skills test were as follows: The research results indicated that: 1. The learning achievement level in Health Education of Primary Grade Five students after learning by active learning disposition was statistically significantly higher than before studying at a level of .05 level. 2. The learning achievement in Health Education of Primary Grade Five students who learned by active learning disposition was significantly statistically higher than the students who learned using traditional learning management at a level of .05 level. 3. The group working skills achievement in Health education of Primary Grade Five students after learning by active learning disposition was statistically significantly higher than the comparison criteria of seventy percent at a level of .05 level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างก่อนและหลังเรียนวิชาสุขศึกษาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้เชิงรุก 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนวิชาสุขศึกษาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้เชิงรุกกับนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ  3) เพื่อเปรียบเทียบทักษะการทำงานร่วมกันวิชาสุขศึกษาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังได้รับการจัดการเรียนรู้เชิงรุก กับเกณฑ์ร้อยละ 70 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนยะหริ่ง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานีจำนวน 2 ห้องเรียน 58 คน ซึ่งได้จากการสุ่มแบบกลุ่ม โดยแบ่งเป็น 2 กลุ่มทดลอง ได้แก่ กลุ่มควบคุม คือ กลุ่มนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/2 จำนวน 29 คน ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้รูปแบบปกติ และกลุ่มทดลอง คือ กลุ่มนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/3 จำนวน 29 คน ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้เชิงรุก ใช้เวลาในการทดลองจำนวน 13 คาบ คาบละ 50 นาที เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้เชิงรุก วิชาสุขศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ยาน่ารู้  สารเสพติดให้โทษ และ สื่อกับตัวเรา จำนวน 7 แผน โดยผ่านการตรวจสอบคุณภาพจากผู้เชี่ยวชาญและมีผลการตรวจสอบอยู่ในระดับเหมาะสมมาก 2) แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จำนวน 20 ข้อ มีค่าความยากง่ายระหว่าง 0.40 - 0.80 ค่าอำนาจจำแนกระหว่าง 0.20 - 0.53 และมีค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบทั้งฉบับอยู่ที่ 0.73    3) แบบประเมินทักษะการทำงานร่วมกัน โดยมีการประเมิน 2 รูปแบบ คือ การประเมินโดยครูผู้สอน และการประเมินโดยนักเรียน  ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนวิชาสุขศึกษาของนักเรียนนักเรียนั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้เชิง แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยคะแนนสอบหลังเรียนสูงกว่าคะแนนสอบก่อนเรียน 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนวิชาสุขศึกษาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ระหว่างนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้เชิงรุกกับนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยคะแนนสอบของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้เชิงรุกสูงกว่าคะแนนสอบของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบปกติ 3. ผลคะแนนทักษะการทำงานร่วมกันของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังได้รับการจัดการเรียนรู้เชิงรุกวิชาสุขศึกษา มีผลการประเมินทักษะการทำงานร่วมกันสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectการจัดการเรียนรู้เชิงรุก, การจัดการเรียนรู้แบบปกติ, ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน, ทักษะการทำงานร่วมกันth
dc.subjectActive learning. Traditional learning management. Learning achievement. Group working skill.en
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleEFFECT OF ACTIVE LEARNING OF HEALTH EDUCATION ON LEARNING ACHIEVENMENT AND GROUP WORKING SKILL OF GRADE 5 STUDENTS.en
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้เชิงรุกวิชาสุขศึกษาที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะการทำงานร่วมกันของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5th
dc.typeThesisen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs571130082.pdf6.04 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.