Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2268
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPEERAPONG DEDTHONGLANGen
dc.contributorพีระพงษ์ เด็ดทองหลางth
dc.contributor.advisorDisorn Keawklayen
dc.contributor.advisorดิศรณ์ แก้วคล้ายth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot Universityen
dc.date.accessioned2023-09-26T06:55:26Z-
dc.date.available2023-09-26T06:55:26Z-
dc.date.created2023
dc.date.issued19/5/2023
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2268-
dc.description.abstractThe objective of this research is to study and compare the effects of plyometric training, together with SAQ training on agility and leg strength among futsal players. The 30 subjects were purposively sampled from Ratchawinit Bangkaew School and the futsal players were between 13 to 15 years old. They were divided into two equal groups of 15 players each based on matching group. Experimental Group One were trained with plyometric training together with a SA training program and Experimental Group Two were trained by plyometric training together with AQ training program for eight weeks and three days per week, i.e., Monday, Wednesday, Friday from 4.30 PM to 6.00 PM and collected the data using the Leg Strength Dynamometer test and T test Agility Drill before week one and after the experiment in week four and week eight. The data were analyzed by standard deviation, One-Way ANOVA and Two-Way ANOVA with Repeated Measure. If there were any statistical differences, the method of Bon Ferroni’s bilateral comparison, would be used.  The results of study revealed the following: (1) the results of repetitive analysis of agility and leg strength of Experimental Group One and Experimental Group Two before the test, after week four and week eight were statistically significant at a level of .05 level; and (2) when comparing the leg strength between two group before the test, after week four and week eight, there were no significant difference; and (3) when compared the agility between two group before the test, after week four and week eight, there was a statistical significance of .05.en
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างและเปรียบเทียบผลของการฝึกโปรแกรมพลัยโอเมตริกควบคู่กับโปรแกรมการฝึก เอส เอ คิว ที่มีต่อความคล่องแคล่วว่องไว และความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักฟุตซอลชาย รุ่นอายุไม่เกิน 15 ปี โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว จำนวน 30 คน ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) โดยการทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขา จากนั้นเรียงลำดับผลการทดสอบจากน้อยไปมาก และจัดเรียงเข้ากลุ่มแบบสลับฟันปลา (Matching Group) แบ่งออกเป็น  2 กลุ่ม กลุ่มละ 15 คน โดยให้กลุ่มทดลองที่ 1 เป็นกลุ่มที่ได้รับการฝึกพลัยโอเมตริกควบคู่กับโปรแกรมการฝึก เอส เอ และกลุ่มทดลองที่ 2 เป็นกลุ่มที่ได้รับการฝึกพลัยโอเมตริกควบคู่กับโปรแกรมการฝึก เอ คิว โดยใช้เวลาในการฝึก 8 สัปดาห์ ๆ ละ 3 วัน คือ วันจันทร์ วันพุธ และวันศุกร์ ช่วงเวลา 16.30  - 18.00 น. และทำการเก็บรวบรวมข้อมูลจากการทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขา และทดสอบความคล่องแคล่วว่องไว ก่อนการฝึกสัปดาห์ที่ 1 หลังการฝึกสัปดาห์ที่ 4 และหลังการฝึกสัปดาห์ที่ 8 วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน หาค่าความแปรปรวนแบบทางเดียวชนิดวัดซ้ำ (One Way ANOVA with Repeated Measures) เพื่อเปรียบเทียบความแข็งแรงกล้ามเนื้อขาและความคล่องแคล่วว่องไวภายในกลุ่ม และหาค่าความแปรปรวนแบบสองทางชนิดวัดซ้ำ (Two Way ANOVA with Repeated Measures) เพื่อเปรียบเทียบความแข็งแรงกล้ามเนื้อขาและความคล่องแคล่วว่องไวระหว่างกลุ่ม ทำการทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีการทดสอบของ บอนเฟอโรนี (Bonferroni) ผลการวิจัยพบว่า 1) กลุ่มที่ได้รับการฝึกด้วยโปรแกรมพลัยโอเมตริกควบคู่กับโปรแกรม เอส เอ และกลุ่มที่ได้รับการฝึกด้วยโปรแกรมพลัยโอเมตริกควบคู่กับโปรแกรม เอ คิว มีค่าเฉลี่ยของความแข็งแรงกล้ามเนื้อขาและความคล่องแคล่วว่องไวเพิ่มขึ้นทุกช่วงระยะเวลาการฝึก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) เมื่อเปรียบเทียบความแข็งแรงกล้ามเนื้อขาก่อนการฝึก หลังการฝึกสัปดาห์ที่ 4 และหลังการฝึกสัปดาห์ที่ 8 กลุ่มทดลองทั้งสองกลุ่มมีค่าเฉลี่ยของความแข็งแรงกล้ามเนื้อขา ไม่แตกต่างกัน 3) เมื่อเปรียบเทียบความคล่องแคล่วว่องไวหลังการฝึกสัปดาห์ที่ 4 และหลังการฝึกสัปดาห์ที่ 8 กลุ่มทดลองทั้งสองกลุ่มมีค่าเฉลี่ยของความคล่องแคล่วว่องไวแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectโปรแกรมพลัยโอเมตริกth
dc.subjectโปรแกรมเอส เอ คิวth
dc.subjectความแข็งแรงกล้ามเนื้อขาth
dc.subjectความคล่องแคล่วว่องไวth
dc.subjectPlyometric trainingen
dc.subjectSAQ trainingen
dc.subjectAgilityen
dc.subjectLeg strengthen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.subject.classificationHuman health and social work activitiesen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleTHE EFFECT OF PLYOMETRIC TRAINING TOGETHER WITH S A Q TRAININGON AGILITY AND LEG STRENGTH OF FUTSAL PLAYERen
dc.titleผลของการฝึกโปรแกรมพลัยโอเมตริกควบคู่กับโปรแกรม เอส เอ คิวที่มีต่อความคล่องแคล่วว่องไว และความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขาในนักกีฬาฟุตซอลth
dc.typeThesisen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorDisorn Keawklayen
dc.contributor.coadvisorดิศรณ์ แก้วคล้ายth
dc.contributor.emailadvisordisorn@swu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisordisorn@swu.ac.th
dc.description.degreenameMASTER OF EDUCATION (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevel-en
dc.description.degreelevel-th
dc.description.degreedisciplineDepartment of Physical Educationen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาพลศึกษาth
Appears in Collections:Faculty of Physical Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs611130307.pdf3.75 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.