Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2246
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPIMPA HEMNARAKORNen
dc.contributorพิมพา เหมนรากรth
dc.contributor.advisorCholvit Jearajiten
dc.contributor.advisorชลวิทย์ เจียรจิตต์th
dc.contributor.otherSrinakharinwirot Universityen
dc.date.accessioned2023-09-26T06:52:44Z-
dc.date.available2023-09-26T06:52:44Z-
dc.date.created2023
dc.date.issued19/5/2023
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2246-
dc.description.abstractThe purpose of this research is to study social factors affecting the state of unemployment among 390 new graduates. The researcher chose to collect data from a group of new graduates, divided into the fields of engineering, technology, computer science, tourism and hotels, the law and geography respectively. The instrument used for data collection was a questionnaire. The statistics used in data analysis were percentage, frequency, mean, standard deviation, t-test, and one-way analysis of variance. In case of a statistically significant difference, Pairwise tests by the Least Significant Difference method were used and the Pearson's correlation coefficient was used for analysis. The results of the study showed that there was no difference between the unemployment rates of graduates, according to gender, education level or job position. There was a relationship between respondents aged 22–23 age and the highest compensation and well-being component with a statistical significance of .05. The respondents with grade point averages greater than 3.50 had the strongest correlation with job characteristics and job security with a statistical significance level of .05. This correlation was strongest for respondents from the eastern region, where the family monthly income factor was highest (more than 60,000 baht). The factors affecting unemployment were most closely related to law and hard skills were more important than soft skills in determining unemployment. The analysis of the relationship between social factors discovered that attitude and work values in the organization were the most correlated with factors impacting fresh graduate unemployment, followed by job type and job security, and factors related to compensation and welfare, respectively.en
dc.description.abstractผลกระทบจากเศรษฐกิจถดถอยจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อ Covid-19 ทำให้เห็นถึงปัญหาการว่างงานมากขึ้นในช่วงวัยของเจเนอเรชันแซดเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงในการว่างงานมากที่สุด นำไปสู่งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อสภาวะการว่างงานของบัณฑิตจบใหม่ โดยกลุ่มเป้าหมายที่ศึกษาผู้วิจัยเลือกเก็บข้อมูลจากกลุ่มบัณฑิตจบใหม่ระดับปริญญาตรีจำนวน 390 คน ที่มีการฝากประวัติเพื่อหางานผ่านช่องทางออนไลน์สูงสุดแบ่งออกเป็นสาขาวิศวกรรม, เทคโนโลยีสารสนเทศ/วิทยาการคอมพิวเตอร์, ท่องเที่ยว/การโรงแรม, กฎหมาย และภูมิศาสตร์ ตามลำดับ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่า t-test การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ในกรณีที่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ จะใช้การทดสอบรายคู่โดยวิธี Least Significant Difference  และใช้วิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลวิจัยพบว่า เพศ สถาบันการศึกษาที่สำเร็จการศึกษารวมไปถึงสถานภาพการทำงานมีความคิดเห็นต่อสภาวะการว่างงานของบัณฑิตจบไม่แตกต่างกัน ผู้ตอบแบบสอบถามที่อยู่ในช่วงอายุ 22 -23 ปี มีความสัมพันธ์กับปัจจัยที่ส่งผลต่อสภาวะการว่างงานของบัณฑิตจบใหม่ ด้านปัจจัยด้านผลตอบแทนและสวัสดิการสูงสุดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และผู้ตอบแบบสอบถามที่มีระดับผลการเรียนเฉลี่ย (GPA) 2.76 - 3.00 และมากกว่า 3.50 มีความสัมพันธ์กับปัจจัยที่ส่งผลต่อสภาวะการว่างงานของบัณฑิตจบใหม่ ด้านปัจจัยลักษณะงานและความมั่นคงในงานสูงสุดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05  และมีความสัมพันธ์กับภูมิลำเนาภาคตะวันออกมากที่สุด มีความสัมพันธ์กับจำแนกรายได้ต่อเดือนของครอบครัวมากกว่า 60,000 บาท ขึ้นไปมากที่สุดปัจจัยที่ส่งผลต่อสภาวะการว่างงานของบัณฑิตจบใหม่มีความสัมพันธ์กับสาขาอาชีพกฎหมายที่ต้องการหางานมากที่สุด ในภาพรวมของทักษะความสามารถส่วนบุคคลผู้ตอบแบบสอบถามมีทักษะด้าน Hard skills สูงกว่า Soft skills และจากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านสังคมพบว่า ปัจจัยด้านทัศนคติค่านิยมต่อการทำงานในองค์กรมีความสัมพันธ์กับปัจจัยที่ส่งผลต่อสภาวะการว่างงานของบัณฑิตจบใหม่สูงที่สุด รองลงมาคือ ปัจจัยด้านลักษณะงานและความมั่นคงในงาน และปัจจัยด้านผลตอบแทนและสวัสดิการth
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectปัจจัยทางสังคมth
dc.subjectการว่างงานth
dc.subjectบัณฑิตจบใหม่th
dc.subjectSocial factorsen
dc.subjectUnemploymenten
dc.subjectNew graduatesen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleTHE SOCIAL FACTORS AFFECTING NEW GRADUATES UNEMPLOYMENTen
dc.titleปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อสภาวะการว่างงานของบัณฑิตจบใหม่th
dc.typeMaster’s Projecten
dc.typeสารนิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorCholvit Jearajiten
dc.contributor.coadvisorชลวิทย์ เจียรจิตต์th
dc.contributor.emailadvisorcholvit@swu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorcholvit@swu.ac.th
dc.description.degreenameMASTER OF ARTS (M.A.)en
dc.description.degreenameศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.)th
dc.description.degreelevel-en
dc.description.degreelevel-th
dc.description.degreedisciplineDepartment Of Sociologyen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาสังคมวิทยาth
Appears in Collections:Faculty of Social Sciences

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs631130358.pdf2.01 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.