Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2190
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | THANUTTHA SUWANNAKAS | en |
dc.contributor | ธนัฏฐา สุวรรณากาศ | th |
dc.contributor.advisor | Vipakorn Vadhanasin | en |
dc.contributor.advisor | วิภากร วัฒนสินธุ์ | th |
dc.contributor.other | Srinakharinwirot University | en |
dc.date.accessioned | 2023-09-26T06:35:23Z | - |
dc.date.available | 2023-09-26T06:35:23Z | - |
dc.date.created | 2023 | |
dc.date.issued | 21/7/2023 | |
dc.identifier.uri | http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2190 | - |
dc.description.abstract | This article presents the impact of information perception to the preventive behavior of COVID-19 among working age people in the Bangkok metropolitan area. The objectives of this research are as follows: (1) to study the perception of information about COVID-19; (2) to compare the information about and perception of COVID-19 as classified by gender, age, and education level; and (3) to study corelation between the information, perception and the preventive behavior of COVID-19. By using quantitative research methods, the sample group in this research consisted of 421 working age people in the Bangkok metropolitan area. The data collection tool was a questionnaire. The data were analyzed by calculating the frequency, percentage, mean and standard deviation. The hypothesis was tested with t-test and one-way ANOVA statistics and a structural equation model (SEM) was used to analyze the correlation between the information, perception and the preventive behavior of COVID-19. The results showed that overall information perception was at a high level (x̄ = 4.14). When considering each part, it was found that all aspects of information perception were at a high level, including information retention (x̄ = 4.28), following by information understanding and interpretation (x̄ = 4.18), and information exposure (x̄ = 4.00) respectively. The anlysis of the hypothesis revealed that education level significantly impacted information perception of COVID-19 at a .05 level of significance. However, gender and age group did not significatly affect overall information perception of COVID-19. The results of the SEM found that the measurement model was well fitted to the empirical data. This implied that the information perception influenced the preventive behavior from the COVID-19 outbreak among working-age people in the Bangkok metropolitan area. | en |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้นำเสนอการรับรู้สารสนเทศที่มีผลต่อพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการระบาดของโรคโควิด-19 ของกลุ่มวัยทำงาน ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการรับรู้สารสนเทศโรคโควิด-19 2) เปรียบเทียบการรับรู้สารสนเทศโรคโควิด-19 จำแนกตามเพศ ช่วงอายุ และระดับการศึกษา และ 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้สารสนเทศและพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการระบาดของโรคโควิด-19 ใช้การวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างคือ กลุ่มวัยทำงานในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวน 421 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยคำนวณค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบสมมติฐานด้วยสถิติ t-test และ one-way ANOVA วิเคราะห์สมการเชิงโครงสร้างเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้สารสนเทศและพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการระบาดของโรคโควิด-19 ผลการวิจัยพบว่า การรับรู้สารสนเทศโรคโควิด-19 ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (x̄ = 4.14) เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า การรับรู้สารสนเทศอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ การเก็บรักษาสารสนเทศ (x̄ = 4.28) รองลงมาคือ การทำความเข้าใจและตีความหมายสารสนเทศ (x̄ = 4.18) และการเปิดรับสารสนเทศ (x̄ = 4.00) ตามลำดับ ผลการเปรียบเทียบการรับรู้สารสนเทศโรคโควิด-19 พบว่า ระดับการศึกษาแตกต่างกันมีระดับการรับรู้สารสนเทศโรคโควิด-19 แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนเพศแตกต่างกัน และกลุ่มอายุแตกต่างกัน มีการรับรู้สารสนเทศโรคโควิด-19 โดยรวมไม่แตกต่างกัน ผลการวิเคราะห์สมการเชิงโครงสร้าง พบว่าโมเดลตามสมมติฐานมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์เป็นอย่างดี แสดงว่า การรับรู้สารสนเทศมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการระบาดของโควิด-19 ของกลุ่มวัยทำงานในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Srinakharinwirot University | |
dc.rights | Srinakharinwirot University | |
dc.subject | การรับรู้สารสนเทศ | th |
dc.subject | โรคโควิด-19 | th |
dc.subject | พฤติกรรมการป้องกันตนเอง | th |
dc.subject | กลุ่มวัยทำงาน | th |
dc.subject | Information perception | en |
dc.subject | Preventive behavior | en |
dc.subject | Working age people | en |
dc.subject | COVID-19 | en |
dc.subject.classification | Arts and Humanities | en |
dc.subject.classification | Information and communication | en |
dc.subject.classification | Philosophy and ethics | en |
dc.title | THE CORRELATION BETWEEN INFORMATION PERCEPTION AND PREVENTIVE BEHAVIORS OF COVID-19 AMONG WORKING AGE PEOPLEIN BANGKOK METROPOLITAN | en |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้สารสนเทศและพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการระบาดของโรคโควิด-19 ของกลุ่มวัยทำงาน ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | ปริญญานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Vipakorn Vadhanasin | en |
dc.contributor.coadvisor | วิภากร วัฒนสินธุ์ | th |
dc.contributor.emailadvisor | vipakorn@swu.ac.th | |
dc.contributor.emailcoadvisor | vipakorn@swu.ac.th | |
dc.description.degreename | MASTER OF ARTS (M.A.) | en |
dc.description.degreename | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | - | en |
dc.description.degreelevel | - | th |
dc.description.degreediscipline | Department of Library Science | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ | th |
Appears in Collections: | Faculty of Humanities |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
gs621130215.pdf | 2.43 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.