Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2126
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPALARP PRAPATSARANONen
dc.contributorพาลาภ ประภัศรานนท์th
dc.contributor.advisorSudarat Tuntivivaten
dc.contributor.advisorสุดารัตน์ ตันติวิวัทน์th
dc.contributor.otherSrinakharinwirot Universityen
dc.date.accessioned2023-03-15T08:14:18Z-
dc.date.available2023-03-15T08:14:18Z-
dc.date.created2022
dc.date.issued16/12/2022
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2126-
dc.description.abstractThe aims of this research are as follows: (1) to analyze the indicators and to develop a measurement of learning engagement; (2) to develop a structural equation model of learning engagement; and (3) to develop and study the effectiveness of a motivation training program and goal setting to enhance learning engagement in the sales of financial institutions in Thailand. This research had two phases, the first phase analyzed the indicators and developed the measurement of learning engagement. The developed learning engagement scales were distributed to 400 sales and conducted confirmatory factor analysis based on the survey results. The results revealed three factors, and 20 indicators of learning engagement. Motivation had an indirect effect on learning engagement via goal setting. The measurement of structural validity indicated the goodness of fit of the learning engagement model. The second phase employed a one group pre-test post-test design. The developed training program consisted of eight session activities.  The training program was conducted to the sample of 100 sales of financial institutions in Thailand. After attending the training program, the learning engagement of sales in financial institutions in Thailand were significantly higher than before attending the training program. The average learning engagement before attending the program was 8.69, with an SD = 3.651. After attending the program, the average learning engagement was 16.77, with an SD = 2.309 and a dependent samples t-test =-25.983. The results showed that the developed training program could enhance the learning engagement of the sales of financial institutions in Thailand through motivation and goal setting. The developed program could be rolled out to the sales of financial institutions in Thailand based on the results of this research and could benefit the salespeople themselves and their organizations.en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาตัวบ่งชี้และพัฒนาแบบวัดความยึดมั่นผูกพันในการเรียนรู้ เพื่อพัฒนารูปแบบสมการโครงสร้างของตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อความยึดมั่นผูกพันในการเรียนรู้ และพัฒนาและศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมพัฒนาแรงจูงใจและการตั้งเป้าหมายต่อความผูกพันในการเรียนรู้ของพนักงานขายในสถาบันการเงินในไทย การวิจัยออกเป็น 3 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาตัวบ่งชี้และพัฒนาแบบวัดความความยึดมั่นผูกพันในการเรียนรู้ ขั้นตอนที่ 2 พัฒนารูปแบบสมการโครงสร้างของตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อความยึดมั่นผูกพันในการเรียนรู้ของพนักงานขายในสถาบันการเงินในไทย มีกลุ่มตัวอย่างเป็นพนักงานขาย จำนวน 400 คน ใช้แบบวัดเป็นเครื่องมือในการทำวิจัย และใช้การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน พบว่าแบบวัดความยึดมั่นผูกพันในการเรียนรู้ของพนักงานขายในสถาบันการเงินในไทยที่พัฒนาขึ้น ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ และ 20 ตัวบ่งชี้ โดยการพัฒนาแรงจูงใจมีอิทธิพลต่อความยึดมั่นผูกพันในการเรียนรู้ผ่านตัวแปรการตั้งเป้าหมาย และโมเดลที่ได้นำเสนอมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ในเกณฑ์ดี ขั้นตอนที่ 3 เพื่อพัฒนาและศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมพัฒนาแรงจูงใจและการตั้งเป้าหมายต่อความผูกพันในการเรียนรู้ของพนักงานขายในสถาบันการเงินในไทย ใช้รูปแบบการวิจัยแบบกึ่งทดลอง แบบกลุ่มเดียวทดสอบก่อนอบรมและหลังอบรม แบ่งโปรแกรมฝึกอบรมออกเป็น 8 กิจกรรม กลุ่มตัวอย่างคือ พนักงานขายของสถาบันการเงินในไทยจำนวน 100 คน ผลการใช้โปรแกรมพบว่าหลังอบรมพนักงานขายมีความยึดมั่นผูกพันในการเรียนรู้สูงกว่าก่อนอบรม โดยก่อนเรียนมีค่าเฉลี่ยความยึดมั่นผูกพันในการเรียนรู้  = 8.69 S.D.= 3.651 และหลังเรียนมีค่าเฉลี่ยความยึดมั่นผูกพันในการเรียนรู้  = 16.77 S.D.= 2.309  t = -25.983 ซึ่งสรุปได้ว่าโปรแกรมฯที่พัฒนาขึ้น สามารถเพิ่มความยึดมั่นผูกพันในการเรียนรู้ให้กับพนักงานขายผู้เข้ารับการอบรมได้ ผ่านการพัฒนาแรงจูงใจ และการตั้งเป้าหมายจากกิจกรรมในโปรแกรมฝึกอบรม ข้อค้นพบจากงานวิจัยนี้พบว่า การพัฒนาแรงจูงใจมีอิทธิพลต่อความยึดมั่นผูกพันในการเรียนรู้ผ่านตัวแปรการตั้งเป้าหมาย และโปรแกรมพัฒนาความยึดมั่นผูกพันในการเรียนรู้นั้นสามารถออกแบบได้จากการพัฒนาแรงจูงใจและการตั้งเป้าหมาย ซึ่งจะนำไปสู่ความยึดมั่นผูกพันในการเรียนรู้ของพนักงานขายที่เพิ่มขึ้น และส่งผลที่ดีต่อทั้งตัวพนักงานขายเองและองค์กรth
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectความยึดมั่นผูกพันในการเรียนรู้th
dc.subjectการตั้งเป้าหมายth
dc.subjectแรงจูงใจth
dc.subjectสถาบันการเงินth
dc.subjectlearning engagementen
dc.subjectgoal settingen
dc.subjectMotivation training programen
dc.subjectFinancial institutionsen
dc.subject.classificationPsychologyen
dc.subject.classificationFinancial and insurance activitiesen
dc.subject.classificationTraining for teachers with subject specialisationen
dc.titleTHE ANALYSIS OF INDICATORS AND DEVELOPMENT OF MOTIVATIONTRAINING PROGRAM AND GOAL SETTING TO ENHANCE LEARNING ENGAGEMENTIN SALES OF FINANCIAL INSTITUTION IN THAILAND.en
dc.titleการวิเคราะห์ตัวบ่งชี้และการพัฒนาโปรแกรมพัฒนาแรงจูงใจและการตั้งเป้าหมายต่อความยึดมั่นผูกพันในการเรียนรู้ของพนักงานขายในสถาบันการเงินในไทยth
dc.typeDissertationen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorSudarat Tuntivivaten
dc.contributor.coadvisorสุดารัตน์ ตันติวิวัทน์th
dc.contributor.emailadvisorsudarattu@swu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorsudarattu@swu.ac.th
dc.description.degreenameDOCTOR OF PHILOSOPHY (Ph.D.)en
dc.description.degreenameปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.degreelevel-en
dc.description.degreelevel-th
dc.description.degreedisciplineen
dc.description.degreedisciplineth
Appears in Collections:Institute of Research in Behavioral Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs621150027.pdf3.47 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.