Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2007
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPAVEENA TONEKAEWen
dc.contributorปวีณา โทนแก้วth
dc.contributor.advisorRatchapan Choiejiten
dc.contributor.advisorรัชพันธุ์ เชยจิตรth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot Universityen
dc.date.accessioned2023-02-08T07:13:31Z-
dc.date.available2023-02-08T07:13:31Z-
dc.date.created2022
dc.date.issued27/5/2022
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2007-
dc.description.abstractThe objectives of this research are as follows: (1) to study the long-run relationships among the female labor force participation rate, fertility and the availability of childcare; and (2) the factors affecting the fertility rate among Thai females of reproductive age. The results revealed that fertility among all age groups in long-run relationships with the availability of childcare, which was measured in terms of the number of children to nursery ratio; however, there was no long-run relationship between fertility and the female labor force participation rate. There were short-run relationships between childcare availability and fertility in all age groups, except for females aged 25 to 34 and short-run relationships among females aged 35 to 49 in terms of their labor force participation rate, fertility and the availability of childcare. The Granger causality test found a unidirectional association between the female labor participation rate, the fertility rate and the availability of childcare. Moreover, there was a bidirectional association between the fertility rate and childcare availability. The results revealed that the male labor force participation rate had a statistically positive relationship with the female fertility rate in all age groups, except females between 35-49 years of age. The availability of childcare and GDP growth had a statistically negative relationship with the fertility rate. Moreover, the female labor force participation rate had a statistically negative relationship with the fertility rate of working-aged females, including reproductive-aged females between 25-34 and 35-49.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพในระยะยาวและความเป็นเหตุเป็นผลระหว่างการมีส่วนร่วมในกำลังแรงงานของสตรี ภาวะเจริญพันธุ์ และความพร้อมในการดูแลบุตร 2. ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อภาวะเจริญพันธุ์ของสตรีไทยในวัยเจริญพันธุ์ ผลการศึกษาพบว่า ภาวะเจริญพันธุ์ของสตรีในภาพรวมและทุกกลุ่มอายุมีความสัมพันธ์ในระยะยาวกับสัดส่วนจำนวนเด็กต่อสถานรับเลี้ยงเด็กซึ่งเป็นตัวแทนความพร้อมในการดูแลบุตร แต่ไม่พบความสัมพันธ์ในระยะยาวระหว่างภาวะเจริญพันธุ์ของสตรีกับการมีส่วนร่วมในกำลังแรงงานของสตรี และมีความสัมพันธ์ในระยะสั้นระหว่างความพร้อมในการดูแลบุตรกับภาวะเจริญพันธุ์ของสตรีในภาพรวมและทุกกลุ่มอายุ ยกเว้นอายุ 25-34 ปี ส่วนการมีส่วนร่วมในกำลังแรงงานของสตรีมีความสัมพันธ์ในระยะสั้นกับความพร้อมในการดูแลบุตรและภาวะเจริญพันธุ์ของสตรีอายุ 35-49 ปี ในขณะที่การมีส่วนร่วมในกำลังแรงงานของสตรีและภาวะเจริญพันธุ์ของสตรีมีความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพในระยะยาวกับสัดส่วนจำนวนเด็กต่อสถานรับเลี้ยงเด็ก ในการทดสอบความเป็นเหตุเป็นผลพบว่า การมีส่วนร่วมในกำลังแรงงานของสตรี ภาวะเจริญพันธุ์ของสตรี เป็นตัวกำหนดการเปลี่ยนแปลงของสัดส่วนจำนวนเด็กต่อสถานรับเลี้ยงเด็กซึ่งเป็นความสัมพันธ์ในทิศทางเดียว ส่วนภาวะเจริญพันธุ์ของสตรีกับสัดส่วนจำนวนเด็กต่อผู้ดูแลเด็กเป็นความสัมพันธ์แบบสองทิศทาง และการมีส่วนร่วมในกำลังแรงงานของเพศชายมีความสัมพันธ์ในทิศทางบวกต่อภาวะเจริญพันธุ์ของสตรีอย่างมีนัยสำคัญทุกกลุ่มอายุ ยกเว้นอายุ 35-49 ปี ในขณะที่ความพร้อมในการดูแลบุตร อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจมีผลต่อภาวะเจริญพันธุ์ของสตรีในทิศทางลบ และการมีส่วนร่วมในกำลังแรงงานของสตรีมีผลต่อภาวะเจริญพันธุ์ในทิศทางลบกับสตรีอายุ 25-34 ปี และอายุ 35-49 ปี  th
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectการมีส่วนร่วมในกำลังแรงงานของสตรี ภาวะเจริญพันธุ์ ความพร้อมในการดูแลบุตรth
dc.subjectfemale labor force participation fertility childcare availabilityen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleTHE RELATIONSHIP BETWEEN FEMALE LABOR FORCE PARTICIPATION, FERTILITY AND CHILD CARE AVAILABLEen
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการมีส่วนร่วมในกำลังแรงงานของสตรี ภาวะเจริญพันธุ์ และความพร้อมในการดูแลบุตร th
dc.typeDissertationen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorRatchapan Choiejiten
dc.contributor.coadvisorรัชพันธุ์ เชยจิตรth
dc.contributor.emailadvisorratchapan@swu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorratchapan@swu.ac.th
dc.description.degreenameDOCTOR OF PHILOSOPHY (Ph.D.)en
dc.description.degreenameปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.degreelevel-en
dc.description.degreelevel-th
dc.description.degreedisciplineen
dc.description.degreedisciplineth
Appears in Collections:School of Economics and Public Policy

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs571120078.pdf2.54 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.