Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1943
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPORNPIMON JAIKLAen
dc.contributorพรพิมล ใจกล้าth
dc.contributor.advisorChakapong Phatlakfaen
dc.contributor.advisorจักรพงษ์ แพทย์หลักฟ้าth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot Universityen
dc.date.accessioned2023-02-08T06:49:38Z-
dc.date.available2023-02-08T06:49:38Z-
dc.date.created2022
dc.date.issued8/8/2022
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1943-
dc.description.abstractThe objectives of this research are as follows: (1) to develop educational games about shapes and forms in the subject of visual arts for Third Grade students according to the ADDIE Model and studying the efficiency from three experts; (2) to compare the learning achievement of Third Grade students before and after studying with educational games about shapes and forms; (3) to study the satisfaction of 20 third Grade students towards educational games in the second semester of the 2021 academic year using purposive sampling. The equipment used in this research consisted of (1) education games about shapes and forms in the subject of visual arts; (2) a five-point rating Scale for the evaluation of educational games about shapes and forms in the subject of visual arts; (3) a pretest and a posttest about shapes and forms in the subject of visual arts; (4) evaluation of the satisfaction with educational games about shapes and forms in the subject of visual arts. The statistics in this research included percentage, average, standard deviation, and a dependent t-test. The results of this research are the development of educational games about shapes and forms in visual art among Third Grade students had an average score of 4.67.The sample demonstrated learning achievement after educational games about shapes and forms at a statistically significant level at 0.5 and higher than before learning. A satisfaction evaluation score of the students towards educational games about shapes and forms in the subject of visual arts, which contained the following: (1) an activity point average score of 4.65; (2) a content point average score of 4.55; (3) a student point average score of 4.51; and (4) a quality point average score of 4.45.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1)เพื่อพัฒนาเกมการศึกษา เรื่องรูปร่าง รูปทรง วิชาทัศนศิลป์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้หลักการออกแบบตามหลักADDIE Model และนำไปหาประสิทธิภาพจากผู้เชี่ยวชาญ 3 คน (2)เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ก่อนและหลังเรียนด้วยเกมการศึกษาเรื่องรูปร่าง รูปทรง (3)เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อการเรียนรู้โดยใช้เกมการศึกษาเรื่อง รูปร่าง รูปทรง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 20 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย (1)เกมการศึกษา เรื่องรูปร่าง รูปทรง วิชาทัศนศิลป์ (2) แบบประเมินเกมการศึกษา เรื่องรูปร่าง รูปทรง วิชาทัศนศิลป์ รูปแบบมาตราประมาณค่า5 ระดับ (3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน-หลังเรียน เรื่องรูปร่าง รูปทรงวิชาทัศนศิลป์ (4) แบบประเมินความพึงพอใจเกมการศึกษา เรื่องรูปร่าง รูปทรง วิชาทัศนศิลป์ แบบมาตราส่วนประเมินค่า 5 ระดับสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าt-test แบบ Dependent ผลการวิจัยพบว่า การพัฒนาเกมการศึกษา เรื่องรูปร่าง รูปทรง วิชาทัศนศิลป์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 สรุปผลรวมการประเมินเกมการศึกษาเรื่องรูปร่าง รูปทรง มีค่าเฉลี่ยโดยรวมที่4.67 อยู่ในระดับคุณภาพมากที่สุดในทุกด้าน นักเรียนที่เรียนโดยใช้เกมการศึกษา เรื่องรูปร่าง รูปทรง วิชาทัศนศิลป์ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อเกมการศึกษา เรื่องรูปร่าง รูปทรง วิชาทัศนศิลป์ ด้านกิจกรรมการเรียนการสอนมีความพึงพอใจสูงสุดมีค่าเฉลี่ย4.65 รองลงมา ด้านเนื้อหามีค่าเฉลี่ย4.55 อยู่ในระดับมากที่สุด ด้านผู้เรียนมีค่าเฉลี่ย4.51 อยู่ในระดับมากที่สุด และด้านคุณภาพของเกมการศึกษามีค่าเฉลี่ย 4.45 อยู่ในระดับมากth
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectการพัฒนาเกมการศึกษาth
dc.subjectผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้เรื่องรูปร่าง รูปทรงth
dc.subjectความพึงพอใจจากการเรียนด้วยเกมการศึกษาth
dc.subjectEducational game developmenten
dc.subjectShapes and formsen
dc.subjectVisual artsen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleDEVELOPMENT OF EDUCATIONAL GAMES ABOUT SHAPES AND FORMS OF VISUAL ART FOR THIRD GRADE STUDENTSen
dc.titleการพัฒนาเกมการศึกษา เรื่องรูปร่าง รูปทรง วิชาทัศนศิลป์ของระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3th
dc.typeThesisen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorChakapong Phatlakfaen
dc.contributor.coadvisorจักรพงษ์ แพทย์หลักฟ้าth
dc.contributor.emailadvisorchakapon@swu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorchakapon@swu.ac.th
dc.description.degreenameMASTER OF EDUCATION (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevel-en
dc.description.degreelevel-th
dc.description.degreedisciplineen
dc.description.degreedisciplineth
Appears in Collections:Faculty of Fine Arts

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs601130213.pdf4.04 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.