Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1936
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorVEERAPOJ SANPAKRITWATTANAen
dc.contributorวีรพจน์ สรรพากิจวัฒนาth
dc.contributor.advisorPhongthep Hanpattanakiten
dc.contributor.advisorพงษ์เทพ หาญพัฒนากิจth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot Universityen
dc.date.accessioned2023-02-08T06:47:04Z-
dc.date.available2023-02-08T06:47:04Z-
dc.date.created2022
dc.date.issued8/8/2022
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1936-
dc.description.abstractNowadays, the eco-tourism is becoming more popular among tourists. Thus, the tourist activities have produced air pollution and climate change by greenhouse gases (GHG) emission. This study aims to estimate the GHG emissions from fuel combustion of transportation and waste production of the tourist activity in Khung Bang Krachao, Phra Pradaeng District, Samut Prakan Province. CO2 emissions were estimated follow by IPCC 2006: Guideline for National Greenhouse Gas Inventories Standard.  Moreover, the GHG emission in transportation was collected by the 399 questionnaires of tourists. The results found that the tourism demographic information of tourist was female higher than male, as 65.25 and 34.75%. Most of the tourists age were 25-34 and 35-44 years old. The average distance between home and Khung Bang Krachao ecotourism destination was 30.42 km person-1. The total fuel consumption of gasoline and diesel were 168 and 850 L. Consequently, the total amount of GHG emission from tourist transportation was 5,362 kg CO2eq or GHG emission per person was 4.37 kgCO2eq person-1. Besides, the amount of the annual solid waste in 2021 was 1,296.11 tons/year. There were disposed by the anaerobic waste landfill methodology. The total annual GHG emissions was 2,045 tonCO2eq/yr or GHG emission per person was 4.01 kgCO2eq person-1. The research indicated that the mitigation options as following; use public transport and car-pooling for traveling, encourage the use of electric car, use bicycles for visiting travelling attraction, and reduce waste production by separated the recycling waste.en
dc.description.abstractแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศในพื้นที่คุ้งบางกระเจ้ากำลังได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยวในปัจจุบัน ทั้งนี้กิจกรรมของนักท่องเที่ยวมีส่วนสร้างมลพิษทางอากาศและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกจากการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก งานวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการประเมินการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการกิจกรรมการท่องเที่ยว จากการใช้เชื้อเพลิงจากการเดินทางและการผลิตขยะของนักท่องเที่ยวในพื้นที่คุ้งบางกระเจ้า อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ คำนวณการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกโดยอ้างอิงคู่มือ IPCC 2006: Guideline for National Greenhouse Gas Inventories Standard โดยภาคการขนส่งสำรวจจากแบบสอบถามนักท่องเที่ยว จำนวน 399 ชุด ผลการวิจัยพบว่า อัตราส่วนนักท่องเที่ยวเป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย ร้อยละ 65.25 และ 34.75 นักท่องเที่ยวส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 25 – 34 และ 35 – 44 ปี โดยระยะทางเฉลี่ยระหว่างบ้านถึงจุดหมายแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศคุ้งบางกระเจ้า เท่ากับ 30.42 กม ปริมาณรวมการใช้น้ำมันเบนซินและดีเซลในการเดินทางของนักท่องเที่ยว เท่ากับ 168 และ 850 ลิตร ตามลำดับ ทั้งนี้ การปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกรวมจากการเดินทางของนักท่องเที่ยว เท่ากับ 5,362 kgCO2eq หรือมีค่าเฉลี่ยรายบุคคล เท่ากับ 3.59  kgCO2eq คน-1 นอกจากนี้ การปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากภาคของเสีย พบว่าปริมาณขยะบริเวณพื้นที่ท่องเที่ยว ในปี พ.ศ.2564 มีปริมาณขยะรวมทั้งสิ้น 1,296.11 ตัน/ปี มีการกำจัดขยะด้วยวิธีการฝังกลบขยะแบบไร้อากาศ จากการคำนวณปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก พบว่าการปล่อยก๊าซเรือนกระจกรายปี เท่ากับ 2,045 tonCO2eq/ปี หรือมีค่าเฉลี่ยรายบุคคล เท่ากับ 4.01 kgCO2eq คน-1 จากการศึกษาวิจัยในครั้งนี้สามารถนำเสนอมาตรการลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก ดังนี้ มาตรการการใช้รถโดยสารสาธารณะประจำทางในการเดินทางเป็นหลักหรือทางเดียวไปด้วยกัน ส่งเสริมการใช้รถยนต์ไฟฟ้า การใช้จักรยานในการเดินทางในบริเวณแหล่งท่องเที่ยว และการลดขยะจากต้นทาง โดยส่งเสริมการคัดแยกขยะ การนำขยะกลับมารีไซเคิล เป็นต้นth
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectการปลดปล่อยและมาตรการการลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ คุ้งบางกระเจ้าth
dc.subjectGreenhouse Gas Emission and Mitigation Eco-tourism Khung Bang Kachaoen
dc.subject.classificationEnvironmental Scienceen
dc.subject.classificationEnvironmental Scienceen
dc.subject.classificationEnvironmental Scienceen
dc.subject.classificationHuman health and social work activitiesen
dc.subject.classificationEnvironmental scienceen
dc.titleGREENHOUSE GASES EMISSION AND MITIGATION OPTIONFROM ECOTOURISM AT BANG KACHAO, SAMUTPRAKARNen
dc.titleการปลดปล่อยและมาตราการลดก๊าซเรือนกระจก จากการท่องเที่ยวเชิงนิเวศคุ้งบางกระเจ้า สมุทรปราการth
dc.typeThesisen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorPhongthep Hanpattanakiten
dc.contributor.coadvisorพงษ์เทพ หาญพัฒนากิจth
dc.contributor.emailadvisorphongthep@swu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorphongthep@swu.ac.th
dc.description.degreenameMASTER OF SCIENCE (M.Sc.)en
dc.description.degreenameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)th
dc.description.degreelevel-en
dc.description.degreelevel-th
dc.description.degreedisciplineen
dc.description.degreedisciplineth
Appears in Collections:Faculty of Environmental Culture and Ecotourism

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs621130419.pdf4.12 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.