Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1910
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPAWARISA KOTIWONGen
dc.contributorปวริศา โคติวงศ์th
dc.contributor.advisorChommanad Cheausuwantaveeen
dc.contributor.advisorชมนาด เชื้อสุวรรณทวีth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot Universityen
dc.date.accessioned2023-02-08T06:45:37Z-
dc.date.available2023-02-08T06:45:37Z-
dc.date.created2022
dc.date.issued8/8/2022
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1910-
dc.description.abstract          The purposes of this research are as follows: (1) to compare learning achievement and subject matter congruence in mathematics among secondary school students before and after learning through the cooperative jigsaw learning technique and an inductive instruction series; (2) to compare mathematical learning achievement and subject matter congruence in mathematics among secondary school students after learning through the cooperative jigsaw learning technique and an inductive instruction series with a criteria of 70%; and (3) to compare attitude towards mathematics learning before and after learning through the cooperative jigsaw learning technique and an inductive instruction series. This research was quasi-experimental research with a One-Group Pretest-Posttest design. The population of this research included eighth grade students at Tha Rua “Nittayanukul” school in the first semester of the 2021 academic year, which was obtained by cluster random sampling using the classroom as a sampling unit. The duration of this research was 14 periods of 50 minutes each. The instruments for data collection were the learning management plans, together with the use of inductive instruction, a test of mathematics learning achievements and a test of attitudes towards mathematical learning. The results revealed the following: (1) the mathematical learning achievement and matter congruence after learning through the cooperative jigsaw learning technique and inductive instruction, which was higher than before with a statistical significance level of .05.; (2) the mathematical learning achievement and matter congruence after learning with the cooperative learning jigsaw technique with inductive instruction were higher than the criteria of 70%;  and (3) the attitude towards mathematics after applying the cooperative learning jigsaw technique with inductive instruction, which was higher than before with statistical significance of 0.05.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความเท่ากันทุกประการ ก่อนและหลังได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคจิ๊กซอว์ร่วมกับการใช้ ชุดการเรียนรู้แบบอุปนัย 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความเท่ากัน ทุกประการ หลังได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคจิ๊กซอว์ร่วมกับการใช้ชุดการเรียนรู้แบบอุปนัย กับเกณฑ์ร้อยละ 70 และ 3) เปรียบเทียบเจตคติต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ก่อนและหลังได้รับ การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคจิ๊กซอว์ร่วมกับการใช้ชุดการเรียนรู้แบบอุปนัย งานวิจัยนี้เป็นการวิจัย แบบกึ่งทดลอง โดยใช้แบบแผนการวิจัยone – group pretest – posttest design กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนท่าเรือ “นิตยานุกูล” ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 1 ห้องเรียน ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยของการสุ่ม ใช้เวลาในการวิจัย  จำนวน 14 คาบ คาบละ 50 นาที เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิคจิ๊กซอว์ร่วมกับการใช้ชุดการเรียนรู้แบบอุปนัย แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา คณิตศาสตร์และแบบวัดเจตคติต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คณิตศาสตร์ เรื่อง ความเท่ากันทุกประการ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 หลังได้รับการจัดการเรียนรู้ แบบร่วมมือเทคนิคจิ๊กซอว์ร่วมกับการใช้ชุดการเรียนรู้แบบอุปนัยสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05  2)ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องความเท่ากันทุกประการของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 หลังได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคจิ๊กซอว์ร่วมกับการใช้ ชุดการเรียนรู้แบบอุปนัยสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 และ 3) เจตคติต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์หลังได้รับ การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคจิ๊กซอว์ร่วมกับการใช้ชุดการเรียนรู้แบบอุปนัยสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 th
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคจิ๊กซอว์th
dc.subjectการเรียนรู้แบบอุปนัยth
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนth
dc.subjectเจตคติต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์th
dc.subjectCooperative learningen
dc.subjectJigsaw techniqueen
dc.subjectInductive instructionen
dc.subjectAchievementen
dc.subjectAttitudesen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleA STUDY OF MATHEMATICS ACHIEVEMENT AND ATTITUDESOF GRADE 8 STUDENTS THROUGH LEARNING MANAGEMENTBY USING THE COOPERATIVE LEARNING TECHNIQUE OF JIGSAWWITH THE SERIES OF INDUCTIVE INSTRUCTIONen
dc.titleการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคจิ๊กซอว์ร่วมกับการใช้ชุดการเรียนรู้แบบอุปนัยth
dc.typeThesisen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorChommanad Cheausuwantaveeen
dc.contributor.coadvisorชมนาด เชื้อสุวรรณทวีth
dc.contributor.emailadvisorchommanad@swu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorchommanad@swu.ac.th
dc.description.degreenameMASTER OF EDUCATION (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevel-en
dc.description.degreelevel-th
dc.description.degreedisciplineDepartment Of Curriculum And Instructionen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาหลักสูตรและการสอนth
Appears in Collections:Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs611130327.pdf7.04 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.