Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1903
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNUTTAWIPA SURARITen
dc.contributorณัฐวิภา สุราฤทธิ์th
dc.contributor.advisorPanida Sakuntanaken
dc.contributor.advisorพนิดา ศกุนตนาคth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot Universityen
dc.date.accessioned2023-02-08T06:45:36Z-
dc.date.available2023-02-08T06:45:36Z-
dc.date.created2022
dc.date.issued8/8/2022
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1903-
dc.description.abstractThe purpose of the study is to develop, quality test and find the intersection point of the reading literacy test for grade 6 students in Sakaeo primary education service area office 2. Samples are 500 grade 6 students. The experts are 12 Thai language teachers. The reading literacy test consists of a multiple choices test to measure the abilities to locate the information and understanding the idea of the story and a subject test to measure the abilities to evaluate and reflect the whole story as a paraphrase, for a total of 16 situations in 64 questions. The setting of cutoff score using the Modified Angoff Method and Extended Angoff Method. The Results of study revealed that: the reading literacy test has IOC greater than 0.5, for a total of 14 situations, of 56 items. Rater agreement index at 0.798. 10 situations in 40 questions from a whole reading literacy test had difficulty values at 0.21 – 0.80, discrimination values at 0.25 – 0.70. The reading literacy testing’s scoring intersection points of “fair level” is at 28, “good level” is at 52 and “excellent level” is at 71. Reliability values at 0.986 0.996 and 0.999. There are 160 (40%) “improvement needed level” students scored between 0-27, 168 (42%) “fair level” students scored between 28-5, 45 (11.25%)  “good level” students scored between 52-70, and 27 (6.75%) “excellent level” students scored between 71-80.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีความมุ่งหมายเพื่อสร้าง ตรวจสอบคุณภาพ กำหนดคะแนนจุดตัดของแบบวัดความฉลาดรู้ด้านการอ่าน และศึกษาระดับความฉลาดรู้ด้านการอ่านของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต 2 กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 500 คน และกลุ่มผู้เชี่ยวชาญในการกำหนดคะแนนจุดตัด คือ ครูผู้สอนภาษาไทย จำนวน 12 คน แบบวัดความฉลาดรู้ด้านการอ่านวัด 3 กระบวนการ คือ การรู้ตำแหน่งของข้อสนเทศในเนื้อเรื่อง การมีความเข้าใจในเนื้อเรื่อง และการประเมินและสะท้อนความคิดเห็นต่อเนื้อเรื่อง การกำหนดคะแนนจุดตัดใช้วิธีแองกอฟปรับปรุงใหม่และวิธีแองกอฟแบบปรับขยาย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ร้อยละ ค่าเฉลี่ย มัธยฐาน และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สามารถสรุปผลการวิจัยได้ดังนี้ 1) แบบวัดความฉลาดรู้ด้านการอ่านที่สร้างขึ้นเป็นข้อสอบสถานการณ์ จำนวน 16 สถานการณ์ 64 ข้อ 2) ผลการตรวจสอบคุณภาพด้านความเที่ยงตรงตามเนื้อหาโดยพิจารณาจากค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) พบว่ามีข้อสอบที่ผ่านเกณฑ์ จำนวน 14 สถานการณ์ 56 ข้อ ผลการตรวจสอบคุณภาพของเกณฑ์การตรวจให้คะแนนข้อสอบเขียนตอบ พบว่า มีค่าดัชนีความสอดคล้องของผู้ประเมินเท่ากับ 0.798 ผลการวิเคราะห์ความยากง่ายและอำนาจจำแนกของข้อสอบ พบว่า มีข้อสอบที่ผ่านเกณฑ์ จำนวน 10 สถานการณ์ 40 ข้อ โดยมีค่าความยากง่ายตั้งแต่ 0.21-0.80 และมีค่าอำนาจจำแนกตั้งแต่ 0.25-0.70  3) ผลการกำหนดคะแนนจุดตัดแบ่งนักเรียนที่มีความฉลาดรู้ด้านการอ่านออกเป็น 4 ระดับ ได้แก่ ระดับปรับปรุง ได้ 0-27 คะแนน ระดับพอใช้ ได้ 28-51 คะแนน ระดับดี ได้ 52-70 คะแนน และระดับดีเยี่ยม ได้ 71-80 คะแนน วิเคราะห์ความเชื่อมั่นด้วยสูตรของโลเวทท์ตามคะแนนจุดตัด มีความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.989 0.996 และ 0.999 ตามลำดับ และ 4) ผลการศึกษาระดับความฉลาดรู้ด้านการอ่าน พบว่า ร้อยละของนักเรียนที่มีความฉลาดรู้ด้านการอ่านอยู่ในระดับปรับปรุง พอใช้ ดี และดีเยี่ยม เท่ากับ 40.00, 42.00, 11.25 และ 6.75 ตามลำดับth
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectความฉลาดรู้ด้านการอ่านth
dc.subjectวิธีแองกอฟปรับปรุงใหม่th
dc.subjectวิธีแองกอฟปรับขยายth
dc.subjectReading Literacy testen
dc.subjectModified Angoff Methoden
dc.subjectExtended Angoff Methoden
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationTraining for pre-school teachersen
dc.titleTHE DEVELOPMENT OF READING LITERACY TEST FOR PRATHOMSUKSA SIX STUDENTS IN SAKAEO PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 2en
dc.titleการพัฒนาแบบวัดความฉลาดรู้ด้านการอ่านสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต 2th
dc.typeThesisen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorPanida Sakuntanaken
dc.contributor.coadvisorพนิดา ศกุนตนาคth
dc.contributor.emailadvisorpanidam@swu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorpanidam@swu.ac.th
dc.description.degreenameMASTER OF EDUCATION (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevel-en
dc.description.degreelevel-th
dc.description.degreedisciplineDepartment Of Education Measurement And Research HEen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาการวัดผลและวิจัยการศึกษาth
Appears in Collections:Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs611130057.pdf6.05 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.