Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1889
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorWACHIRAYA SATCHAKUNen
dc.contributorวชิรญาณ์ สัจจากุลth
dc.contributor.advisorChommanad Cheausuwantaveeen
dc.contributor.advisorชมนาด เชื้อสุวรรณทวีth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot Universityen
dc.date.accessioned2023-02-08T06:45:33Z-
dc.date.available2023-02-08T06:45:33Z-
dc.date.created2022
dc.date.issued8/8/2022
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1889-
dc.description.abstractThe purposes of this research are as follows: (1) to compare achievement levels before and after learning with the integrated context-based learning and scaffolding strategy; (2) to compare achievement after learning with the integrated context-based learning and scaffolding strategy compared with the 70% criterion; and (3) to compare values in mathematics before and after learning with integrated context-based learning and scaffolding strategy. The study was conducted during the 2021 academic year with Mathayomsuksa Two students at Naresuan University Secondary Demonstration School. An experimental group of 37 students was selected by cluster random sampling from five classrooms with similar abilities. The duration of experiment was fourteen periods of forty minutes each. A one-group Pretest-Posttest design was used in this study. The research instruments included lesson plans for learning with integrated context-based learning and scaffolding strategy, an achievement test and the value of mathematics questionnaires. The data were statistically analyzed by using t-test for Dependent Sample and t-test for one sample. The results revealed the following: (1) the achievement of students after learning with the integrated context based learning and scaffolding strategy was statistically higher than before and with a .01 level of significance; (2) achievement of students after learning with the integrated context based learning and scaffolding strategy was statistically higher than 70% criterion with mean score of 81.96%; and (3) the values in mathematics after learning with integrated context-based learning and scaffolding strategy was statistically higher than before and at a .01 level of significance.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้บริบทเป็นฐานร่วมกับกลวิธีเสริมต่อการเรียนรู้ 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้บริบทเป็นฐานร่วมกับกลวิธีเสริมต่อการเรียนรู้กับเกณฑ์ร้อยละ 70 และ 3) เพื่อเปรียบเทียบการเห็นคุณค่าในวิชาคณิตศาสตร์ก่อนและหลังได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้บริบทเป็นฐานร่วมกับกลวิธีเสริมต่อการเรียนรู้ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยนี้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่กำลังศึกษาอยู่ในปีการศึกษา 2564 โรงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยการสุ่ม (Sampling Unit) จำนวน 1 ห้องเรียน จากทั้งหมด 5 ห้องเรียนที่เป็นห้องเรียนแบบคละความสามารถ ใช้เวลาในการทดลองทั้งสิ้น 14 คาบ คาบละ 40 นาที โดยใช้แบบแผนการวิจัยแบบ One-group Pretest-Posttest Design เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้บริบทเป็นฐานร่วมกับกลวิธีเสริมต่อการเรียนรู้ เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ 3) แบบวัดการเห็นคุณค่าในวิชาคณิตศาสตร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ t-test for Dependent Sample และ t-test for One Sample ผลการวิจัย พบว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้บริบทเป็นฐานร่วมกับกลวิธีเสริมต่อการเรียนรู้สูงกว่าก่อนได้รับการจัดการเรียนรู้ 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้บริบทเป็นฐานร่วมกับกลวิธีเสริมต่อการเรียนรู้สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 โดยมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 20.49 คิดเป็นร้อยละ 81.96 และ 3) การเห็นคุณค่าในวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนหลังได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้บริบทเป็นฐานร่วมกับกลวิธีเสริมต่อการเรียนรู้สูงกว่าก่อนได้รับการจัดการเรียนรู้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectบริบทเป็นฐาน กลวิธีเสริมต่อการเรียนรู้ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การเห็นคุณค่าในวิชาคณิตศาสตร์th
dc.subjectContext Based Learning Scaffolding Strategy Achievement Mathematical valueen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleEFFECTS OF THE INTEGRATED CONTEXT BASED LEARNING AND SCAFFOLDING STRATEGY ON ACHIEVEMENT AND VALUES IN MATHEMATICS OF MATTHAYOM TWO STUDENTSen
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้บริบทเป็นฐานร่วมกับกลวิธีเสริมต่อการเรียนรู้ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการเห็นคุณค่าในวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2th
dc.typeThesisen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorChommanad Cheausuwantaveeen
dc.contributor.coadvisorชมนาด เชื้อสุวรรณทวีth
dc.contributor.emailadvisorchommanad@swu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorchommanad@swu.ac.th
dc.description.degreenameMASTER OF EDUCATION (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevel-en
dc.description.degreelevel-th
dc.description.degreedisciplineDepartment Of Curriculum And Instructionen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาหลักสูตรและการสอนth
Appears in Collections:Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs611130010.pdf2.91 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.