Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1844
Title: | A CAUSAL RELATIONSHIP MODEL OF PTT STATION IMAGE โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของภาพลักษณ์สถานีบริการน้ำมัน PTT Station |
Authors: | NAPAT KLINPRACHUM ณภัทร กลิ่นประชุม Kulachet Mongkol กุลเชษฐ์ มงคล Srinakharinwirot University Kulachet Mongkol กุลเชษฐ์ มงคล kulachet@swu.ac.th kulachet@swu.ac.th |
Keywords: | ภาพลักษณ์ การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ ส่วนประสมทางการตลาด การรับรู้ตราสินค้า Image Integrated Marketing Communication Marketing Mix Brand Awareness |
Issue Date: | 27 |
Publisher: | Srinakharinwirot University |
Abstract: | The objectives of this research are as follows: (1) to study the image of PTT stations; and (2) to examine the causal relationship model of PTT stations. A questionnaire was used as the data collection tool. The participants consisted of 340 service users among PTT stations in Bangkok. The statistics used for data analysis included frequency, percentage, mean, standard deviation, and structural equation analysis. The results of the study revealed that: (1) the image of the PTT Station service stations was at a high level. In terms of each aspect, it was found that it was at a high level, namely the image of the service, the company image and the brand image; and (2) the results of the structural equation analysis revealed that the Integrated Marketing Communications marketing mix and brand awareness directly affected the image of PTT stations. The integrated marketing communication and direct marketing mix affected brand awareness and marketing communication directly affected the marketing mix. The model values after improvement were Chi-square/df was 1.29, RMSEA was 0.029, GFI was 0.97, CFI was 1.00, NFI was 1.00, and PGFI was 0.53. การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับ 1) เพื่อศึกษาระดับของภาพลักษณ์สถานีบริการน้ำมัน PTT Station 2) เพื่อตรวจสอบโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของภาพลักษณ์สถานีบริการน้ำมัน PTT Station ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล จากผู้ใช้บริการสถานีบริการน้ำมัน PTT Station ในกรุงเทพมหานคร จำนวน 340 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์สมการเชิงโครงสร้าง ผลการศึกษาพบว่า 1) ภาพลักษณ์ของสถานีบริการน้ำมัน PTT Station อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านภาพลักษณ์บริการ รองลงมาคือ ด้านภาพลักษณ์ของบริษัท และด้านภาพลักษณ์ของตราสินค้า อยู่ในระดับปานกลาง 2) ผลการวิเคราะห์สมการเชิงโครงสร้างพบว่า การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ ส่วนประสมทางการตลาด และการรับรู้ตราสินค้าส่งผลทางตรงต่อภาพลักษณ์ของสถานีบริการน้ำมัน PTT Station การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการและส่วนประสมทางการตลาดส่งทางตรงผลต่อการรับรู้ตราสินค้า และการสื่อสารการตลาดส่งผลทางตรงต่อส่วนประสมทางการตลาด โดยมีค่าโมเดลหลังการปรับปรุง ค่า Chi-square/df เท่ากับ 1.29 ค่า RMSEA เท่ากับ 0.029 ค่า GFI เท่ากับ 0.97 ค่า CFI เท่ากับ 1.00 ค่า NFI เท่ากับ 1.00 และ ค่า PGFI เท่ากับ 0.53 |
URI: | http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1844 |
Appears in Collections: | Faculty of Business administration for society |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
gs622130006.pdf | 4.28 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.