Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1760
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorYUPAWAN RANGABPRAIen
dc.contributorยุพาวรรณ ระงับไพรth
dc.contributor.advisorWitid Mittranunen
dc.contributor.advisorวิทิต มิตรานันท์th
dc.contributor.otherSrinakharinwirot Universityen
dc.date.accessioned2023-02-08T06:10:43Z-
dc.date.available2023-02-08T06:10:43Z-
dc.date.created2022
dc.date.issued8/8/2022
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1760-
dc.description.abstractThe purpose of this study was to investigate the acute effects of reformer Pilates exercises on vascular function in the elderly. There was a total of 17 participants (4 males, 13 females), and aged 60 to 69 years (SD 60±2.76 years) recruited for this study. A crossover design was applied in this study, which divided it into two conditions. (1) reformer Pilates exercise condition: 4-5 OMNI resistance scale for 60 min; and (2) control conditions: maintaining a seated position for 60 mins. The flow-mediated dilatation (FMD), brachial-ankle pulse wave velocity (baPWV), and blood pressure were collected for five timelines (baseline, 0 min after condition, 10 min after condition, 30 min after condition, and 60 min after condition). The results showed that reformer Pilates conditions significantly enhanced FMD at 0 min after condition, 10 min after condition, 30 min after conditions, and 60 min after condition as compared to baseline (P<0.05) and baPWV was significantly increased (P<0.05) only 0 min after condition. While the remaining timeline of baPWV returned to the baseline at all time points (P>0.05). Considering the difference between conditions, reformer Pilates demonstrated the higher FMD at 0 min after condition, 10 min after condition, and 30 min after condition, as compared to the control condition (P>0.05). However, the significant differences were not observed in systolic, diastolic, and mean arterial pressure in both conditions (P>0.05). In conclusion, reformer Pilates exercise had acutely favorable effects on vascular functions in older adults.en
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลฉับพลันของการออกกำลังกายรีฟอร์เมอร์พิลาทีสที่มีต่อการทำงานของหลอดเลือดในผู้สูงอายุ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุ เพศชาย 4 คน เพศหญิง 13 คน อายุ 60-69 ปี (เฉลี่ย 60±2.76 ปี) จำนวน 17 คน การศึกษาครั้งนี้เป็นแบบไขว้กลุ่ม (Crossover design) แบ่งการศึกษาออกเป็น 2 เงื่อนไข 1.) เงื่อนไขออกกำลังกายด้วยรีฟอร์เมอร์พิลาทีส ซึ่งออกกำลังกายที่ความหนัก 4-5 OMNI resistance scale เป็นเวลา 60 นาที และ 2.) เงื่อนไขควบคุม ซึ่งนั่งอยู่ในห้องทดลองเป็นเวลา 60 นาที จากนั้นกลุ่มตัวอย่างทั้ง 2 เงื่อนไขจะได้รับการวัดค่าการไหลของเลือดผ่านการขยายตัวของหลอดเลือด (Flow-mediated dilatation; FMD) วัดค่าคลื่นความดันชีพจรระหว่างต้นแขนและข้อเท้า (Brachia-ankle pulse wave velocity; baPWV) และความดันโลหิต ทั้งหมด 5 ช่วงเวลา (ช่วงก่อนการได้รับเงื่อนไข, หลังจากได้รับเงื่อนไขทันที, หลังจากนาทีที่ 10, หลังจากนาทีที่ 30 และหลังจากนาทีที่ 60 ผลที่ได้จากการศึกษาพบว่า หลังจากการออกกำลังกายด้วยรีฟอร์เมอร์พิลาทีสมีการเปลี่ยนแปลงของค่า FMD เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) ในช่วงหลังจากได้รับเงื่อนไขทันที, หลังจากนาทีที่ 10, หลังจากนาทีที่ 30 และหลังจากนาทีที่ 60 เมื่อเปรียบเทียบกับช่วงก่อนการได้รับเงื่อนไขและมีการเพิ่มขึ้นของ baPWV ในช่วงหลังจากได้รับเงื่อนไขทันที (P<0.05) เท่านั้น ส่วนในช่วงเวลาที่เหลือค่าดังกล่าวค่า baPWV กลับเข้าสู่ช่วงก่อนการได้รับเงื่อนไข (P>0.05)  เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มพบว่าเงื่อนไขออกกำลังกายรีฟอร์เมอร์พิลาทีสมีค่า FMD ที่มากกว่าเงื่อนไขควบคุมในช่วงหลังจากได้รับเงื่อนไขทันที, หลังจากนาทีที่ 10, หลังจากนาทีที่ 30  (P<0.05) แต่อย่างไรก็ตามไม่พบความแตกต่างของช่วงเวลาหลังได้รับเงื่อนไขเมื่อเทียบกับช่วงก่อนได้รับเงื่อนออกกำลังกายรีฟอร์เมอร์พิลาทีสในตัวแปรด้านความดันโลหิตตัวบน, ความดันโลหิตตัวล่าง, และความดันโลหิตเฉลี่ย (P>0.05) สรุปได้ว่าการออกกำลังกายด้วยรีฟอร์เมอร์พิลาทีสส่งผลดีอย่างฉับพลันต่อหน้าที่การทำงานของหลอดเลือดในผู้สูงอายุ th
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectการออกกำลังกายรีฟอร์เมอร์พิลาทีส,หน้าที่การทำงานของหลอดเลือด, การไหลของเลือดผ่านการขยายตัวของหลอดเลือด, คลื่นความดันชีพจร, ผู้สูงอายุth
dc.subjectReformer Pilates exercises Vascular function Flow-mediated dilatation Pulse wave velocity Elderly peopleen
dc.subject.classificationHealth Professionsen
dc.subject.classificationPsychologyen
dc.subject.classificationHuman health and social work activitiesen
dc.subject.classificationTherapy and rehabilitationen
dc.titleTHE ACUTE EFFECTS OF REFORMER PILATES EXERCISES ON VASCULAR FUNCTION IN ELDERLYen
dc.titleผลฉับพลันของการออกกำลังกายรีฟอร์เมอร์พิลาทีสที่มีต่อหน้าที่การทำงานของหลอดเลือดในผู้สูงอายุth
dc.typeThesisen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorWitid Mittranunen
dc.contributor.coadvisorวิทิต มิตรานันท์th
dc.contributor.emailadvisorwitid@swu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorwitid@swu.ac.th
dc.description.degreenameMASTER OF SCIENCE (M.Sc.)en
dc.description.degreenameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)th
dc.description.degreelevel-en
dc.description.degreelevel-th
dc.description.degreedisciplineDepartment Of Sport Scienceen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาth
Appears in Collections:Faculty of Physical Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs621130285.pdf4.92 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.