Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1755
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPIYADEE JINTARUETHAIen
dc.contributorปิยะดี จินตฤทัยth
dc.contributor.advisorAchariya Aneken
dc.contributor.advisorอัจฉริยะ เอนกth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot Universityen
dc.date.accessioned2023-02-08T06:10:42Z-
dc.date.available2023-02-08T06:10:42Z-
dc.date.created2022
dc.date.issued8/8/2022
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1755-
dc.description.abstractThe study aims to compare the results of the effects of walking meditation in patients with Type Two diabetes on diabetic neuropathy of the feet, blood sugar level, hemoglobin A1C level, and changes in cortisol levels. The study used an experimental research design. The sample consisted of 45 participants with Type Two diabetes with diabetic neuropathy of the feet. With multistage sampling, the researcher assigned the participants into three groups: a walking meditation group (a group that practiced walking meditation (11 participants), a typical walking group (a group that did not practice walking meditation with 13 participants, and a control group of 15 participants. The participants in the walking meditation group received exercises with RPE 10-13, while those in the typical walking group received exercises with RPE 12-15. The participants continuously carried out the exercise for 30 minutes per day, for three days per week for 12 weeks. The data obtained were analyzed by descriptive statistics, one-way analysis of variance, a paired t-test, and a Chi-square test.  After exercising, the walking meditation group had a statistically significant difference with a level of hemoglobin A1C, blood sugar level, cortisol level and diabetic neuropathy (p-value = 0.050). The participants in the walking meditation group had the most reduction in average changes in the blood sugar level, hemoglobin A1C level, cortisol level and diabetic neuropathy showed a protective sensation (p-value = 0.050). As a result, walking meditation had a beneficial effect on diabetic neuropathy in patients with Type 2 diabetes between 35-55 and to seek the most appropriate activities.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลของโปรแกรมการออกกำลังกายแบบเดินจงกรมต่ออาการชาปลายเท้า ระดับน้ำตาลในเลือด ระดับน้ำตาลสะสมในเลือด การเปลี่ยนแปลงของระดับฮอร์โมนคอร์ติซอลในผู้ป่วยเบาหวาน ประเภทที่ 2 ซึ่งเป็นรูปแบบการวิจัยแบบทดลอง กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาเป็นกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวาน ประเภทที่ 2 ที่มีอาการชาปลายเท้า จำนวน 45 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน และแบ่งกลุ่มตัวอย่างเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มเดินจงกรม (จำนวน 11 คน) กลุ่มเดินปกติ(จำนวน 13 คน) และกลุ่มควบคุม(15คน) โดยกลุ่มเดินจงกรม ออกกำลังกาย มีค่าระดับความเหนื่อยเฉลี่ยที่ 10 -13 คะแนน ส่วนกลุ่มเดินปกติ มีค่าระดับความเหนื่อยเฉลี่ยที่ 12 - 15 คะแนน โดยผู้เข้าร่วมวิจัยได้รับการออกกำลังกายวันละ 30 นาที จำนวน 3 วันต่อสัปดาห์ เป็นเวลา 12 สัปดาห์ โดยก่อนและหลังการฝึกผู้เข้าร่วมวิจัยจะได้รับการตรวจวัดค่าระดับน้ำตาล น้ำตาลสะสมในเลือด อาการชาปลายเท้า เปรียบเทียบความแตกต่างของตัวแรกก่อนและหลังเข้าโปรแกรมการศึกษา งานวิจัยนี้ได้วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา การวิเคราะห์ระหว่างกลุ่มด้วยสถิติIndependent T-Test ภายในกลุ่มด้วยสถิติ Paired T-Test และอาการชาปลายเท้าด้วยสถิติChi-square กำนดค่านัยสำคัญทางสถิติที่ p<0.05 ผลการศึกษาพบว่า เมื่อเปรียบเทียบก่อนและหลังการฝึก ในกลุ่มของการเดินจงกรมและเดินปกติ มีค่าระดับน้ำตาลในเลือด น้ำตาลสะสมในเลือด ค่าระดับฮอร์โมนคอร์ติซอล และอาการชาปลายเท้าดีขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกลุ่ม พบว่าในกลุ่มเดินจงกรมมีค่าระดับน้ำตาลในเลือด น้ำตาลสะสมในเลือด ค่าระดับฮอร์โมนคอร์ติซอล และอาการชาปลายเท้าดีขึ้นมากที่สุด เมื่อเปรียบเทียบกับทั้งสองกลุ่มอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) สรุปผลการศึกษา การเดินจงกรมช่วยลดอาการชาปลายเท้าในผู้ป่วยเบาหวานประเภทที่ 2 จึงเป็นทางเลือกหนึ่งสำหรับการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานประเภทที่ 2 อายุ 35 - 55 ปี และผู้ที่สนใจในการออกกำลังกายth
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectการเดินจงกรมth
dc.subjectอาการชาปลายเท้าในผู้ป่วยเบาหวานth
dc.subjectค่าระดับน้ำตาลสะสมth
dc.subjectค่าระดับน้ำตาลในเลือดth
dc.subjectWalking meditationen
dc.subjectDiabetes neuropathyen
dc.subjectFasting blood glucoseen
dc.subjectHbA1cen
dc.subject.classificationHealth Professionsen
dc.subject.classificationHuman health and social work activitiesen
dc.subject.classificationTherapy and rehabilitationen
dc.titleTHE EFFECT OF WALKING MEDITATION ON PERIPHERAL NEUROPATHY IN DIABETES TYPE 2en
dc.titleผลของการเดินจงกรมที่มีผลต่ออาการชาปลายเท้าในผู้ป่วยเบาหวานประเภทที่ 2th
dc.typeThesisen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorAchariya Aneken
dc.contributor.coadvisorอัจฉริยะ เอนกth
dc.contributor.emailadvisorachariyaa@swu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorachariyaa@swu.ac.th
dc.description.degreenameMASTER OF SCIENCE (M.Sc.)en
dc.description.degreenameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)th
dc.description.degreelevel-en
dc.description.degreelevel-th
dc.description.degreedisciplineDepartment Of Sport Scienceen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาth
Appears in Collections:Faculty of Physical Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs611130470.pdf2.16 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.