Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1735
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPATOMPORN BUMROEen
dc.contributorปฐมพร บำเรอth
dc.contributor.advisorSumonratree Nimnatipunen
dc.contributor.advisorสุมนรตรี นิ่มเนติพันธ์th
dc.contributor.otherSrinakharinwirot Universityen
dc.date.accessioned2023-02-08T06:10:39Z-
dc.date.available2023-02-08T06:10:39Z-
dc.date.created2022
dc.date.issued8/8/2022
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1735-
dc.description.abstractThis aims of this research are as follows: (1) to study the conditions and the problems of the needs, necessities, and guidelines of dance types of recreational activities to promote creativity and innovation for learners in higher education; (2) to create and develop the model; and (3) to study the effectiveness of the model with research and development. The research method was divided into four steps, as follows: (1) to study the condition of problems, needs, necessities and guidelines for the development of the model; (2) to create and develop a model by checking with an expert and used for pilot studies; (3) to experiment with the pattern by studying with students at the higher education level at Srinakharinwirot University in the second semester of the 2021 academic year consisted of 20 students using a single group experimental model. The results were repeated at specified intervals several times before and after the experiment using the single group pretest-posttest time series design. The duration of the experiment was 10 weeks, at once a week for 50 minutes. The instrument used to collect  the data was the Creativity Assessment form, Dance Innovation Evaluation form and the Satisfaction Assessment form for using this model;  (4) an evaluation of the effectiveness and verification of the use of the model. The analysis resulted from step two of the pilot study and step three of the model experiment were used for comparative analysis to confirm the effectiveness of the model, by using an independent sample t-test and a statistical t-test focusing on the following: (1) letting learners practice activities and mainly through self-learning.The problems encountered were classified as follows: (1) the teacher aspect; (2) the learner aspect; (3) the teaching and learning activities aspect. The needs were found to promote creativity skills and the process of organizing recreational activities in the dance genre and the developmental guidelines for the model consisted of the following: (1) principles; (2) objectives; (3) content; (4) activities; (5) media, material, equipment, location and facilities; and (6) evaluation; (2) the recreational activities included the dance categories that promoted creativity and innovation among higher education learners and included principles, objectives, content, activities, learning outcomes, media/equipment, and assessment. The process of organizing learning activities of the model consisted of three steps, as follows: (1) the creation of experiences or experiential construction; (2), practice and application or connection and application; (3) to stage, create and perform; and (4) an overview of learning management at weeks four, six and ten. The experimental group had better overall creativity than the pilot study group with a statistical significance of .05 and the experimental group was of very good quality.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัญหา ความต้องการจำเป็นและแนวทางของรูปแบบกิจกรรมนันทนาการประเภทการเต้นรำ ที่ส่งเสริมที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม สำหรับผู้เรียนในระดับอุดมศึกษา 2) เพื่อสร้างและพัฒนารูปแบบฯ และ 3) เพื่อศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบฯ ด้วยการวิจัยและพัฒนา วิธีดำเนินการวิจัย แบ่งเป็น 4 ขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาสภาพปัญหาความต้องการจำเป็น และแนวทาง การพัฒนารูปแบบฯ ขั้นตอนที่ 2 การสร้างและพัฒนารูปแบบฯ โดยทำการตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญ และนำไปศึกษานำร่อง ขั้นตอนที่ 3 การทดลองใช้รูปแบบฯ โดยทำการศึกษากับผู้เรียนระดับอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 20 คน โดยใช้แบบแผนการทดลองแบบกลุ่มเดียวมีการวัดผลซ้ำตามช่วงเวลาที่กำหนดหลายครั้งทั้งก่อนและหลังการทดลอง (The single group pretest – posttest time series design) ใช้เวลาในการทดลอง 10 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 1 ครั้ง / 50 นาที เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบประเมินความคิดสร้างสรรค์ แบบประเมินผลงานนวัตกรรมการเต้นรำ และแบบประเมินความพึงพอใจในการใช้รูปแบบฯ ขั้นตอนที่ 4 การประเมินประสิทธิผลและตรวจสอบยืนยันการใช้รูปแบบฯ โดยนำผลการวิเคราะห์จากขั้นการศึกษานำร่อง ขั้นตอนที่ 2 และขั้นการทดลองใช้รูปแบบฯ ขั้นตอนที่ 3 มาวิเคราะห์เปรียบเทียบเพื่อยืนยันประสิทธิผลของรูปแบบ ด้วยสถิติทดสอบที (t-test) แบบ Independent Sample t-test ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพการจัดการเรียนการสอนการเต้นรำหมวดวิชาศึกษาทั่วไปในปัจจุบัน ค่อนข้างเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ให้ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรม และเรียนรู้ด้วยตนเองเป็นหลัก ปัญหาที่พบจำแนกเป็น 1)ด้านผู้สอน 2) ด้านผู้เรียน 3) ด้านกิจกรรมการเรียนการสอน ความต้องการจำเป็น พบว่า การส่งเสริมทักษะความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และกระบวนการจัดกิจกรรมนันทนาการประเภทเต้นรำ และแนวทางการพัฒนารูปแบบฯ ประกอบด้วย1) หลักการ 2) วัตถุประสงค์ 3) เนื้อหา 4) กิจกรรมฯ 5) สื่อ/วัสดุ/อุปกรณ์ สถานที่ และสิ่งอำนวยความสะดวก 6) การประเมินผล 2. รูปแบบกิจกรรมนันทนาการ ประเภทการเต้นรำที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรมสำหรับผู้เรียนระดับอุดมศึกษา ประกอบด้วย หลักการ วัตถุประสงค์ เนื้อหา กิจกรรม ผลลัพธ์การเรียนรู้ สื่อ/อุปกรณ์ และการประเมินผล ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของรูปแบบฯ ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 การสร้างประสบการณ์ (Experiential Construction) ขั้นที่ 2 ขั้นการปฏิบัติและประยุกต์ใช้ (Connect and Apply) ขั้นที่ 3 ขั้นการสร้างสรรค์และนำเสนอผลงานการเต้นรำ (Create and Perform) 3. ประสิทธิผลของรูปแบบฯ พบว่า ความคิดสร้างสรรค์ในภาพรวม หลังการจัดการเรียนรู้ ในสัปดาห์ที่ 4, 6 และ 10 กลุ่มทดลองมี ความคิดสร้างสรรค์ในภาพรวม ดีกว่ากลุ่มศึกษานำร่อง อย่างมีนัยยะสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คุณภาพผลงานนวัตกรรมกิจกรรมนันทนาการประเภทการเต้นรำของกลุ่มศึกษานำร่อง และกลุ่มทดลองมีคุณภาพดีมากth
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectกิจกรรมนันทนาการth
dc.subjectการเต้นรำth
dc.subjectความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรมth
dc.subjectRecreation activityen
dc.subjectRecreational danceen
dc.subjectCreative thinking and Innovationen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationArts, entertainment and recreationen
dc.subject.classificationTraining for teachers with subject specialisationen
dc.titleTHE DEVELOPMENT OF RECREATIONAL DANCE MODELTO ENHANCE CREATIVE THINKING AND INNOVATIONFOR HIGHER EDUCATION STUDENTS en
dc.titleการพัฒนารูปแบบกิจกรรมนันทนาการประเภทการเต้นรำที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม สำหรับผู้เรียนในระดับอุดมศึกษาth
dc.typeDissertationen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorSumonratree Nimnatipunen
dc.contributor.coadvisorสุมนรตรี นิ่มเนติพันธ์th
dc.contributor.emailadvisorsumontee@swu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorsumontee@swu.ac.th
dc.description.degreenameDOCTOR OF PHILOSOPHY (Ph.D.)en
dc.description.degreenameปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.degreelevel-en
dc.description.degreelevel-th
dc.description.degreedisciplineDepartment Of Physical Educationen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาพลศึกษาth
Appears in Collections:Faculty of Physical Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs591150019.pdf5.96 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.