Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/163
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | ISARATE PANYA | en |
dc.contributor | อิศเรศ ปัญญา | th |
dc.contributor.advisor | Duangratana Shuwisitkul | en |
dc.contributor.advisor | ดวงรัตน์ ชูวิสิฐกุล | th |
dc.contributor.other | Srinakharinwirot University. Faculty of Pharmacy | en |
dc.date.accessioned | 2019-06-18T02:34:13Z | - |
dc.date.available | 2019-06-18T02:34:13Z | - |
dc.date.issued | 21/12/2018 | |
dc.identifier.uri | http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/163 | - |
dc.description | MASTER OF SCIENCE (M.Sc.) | en |
dc.description | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) | th |
dc.description.abstract | Centella asiatica is a Thai medicinal plant used for the treatment of hypertrophic scar and keloid. A cosmeceutical product from Centella asiatica for the treatment of depressed scar has not been reported. The objective of this study was to develop serum containing Centella asiatica extract. The pharmaceutical excipients were adjusted to achieve an appropriate formulation. The different type of extracts have been added into the serum including the commercial extract, butanol extract and in-house crude extract. The results showed that the physical appearance of the serum containing poloxamer 188 was clear. The optimization of formulation by modifying the buffering agent resulted into the good stability. The serum containing 5-10% Centella asiatica extract have the good physical and rheological stability except the serum containing 5% in-house crude extract. The extract release and permeability of the serum containing 7.5% commercial extract were faster than the other serum formulations. The permeability of asiaticosides from the serum containing 5% butanol extract showed the highest permeation of asiaticosides. Only the in-house crude extract and the serum containing the in-house crude extract demonstrated the cell survival less than 90%. The cell migration of the butanol extract and the serum containing butanol extract produced more cell movement than the control. The serum containing 5% butanol extract has the best chance to be developed for the tretment of depressed scar from acne. | en |
dc.description.abstract | บัวบกเป็นพืชสมุนไพรไทยที่ใช้ในการรักษาแผลเป็นชนิดนูนและคีลอยด์แต่ยังไม่พบการรายงานว่ามีเวชสำอางจากบัวบกที่ใช้ในการรักษาแผลเป็นชนิดที่ลึกบุ๋ม งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาตำรับเซรัมจากสารสกัดบัวบกเพื่อรักษาแผลเป็นจากการเกิดสิว ซึ่งเป็นแผลเป็นชนิดลึกบุ๋ม พัฒนาเซรัมจากการปรับเปลี่ยนสารช่วยทางเภสัชกรรม ใช้สารสกัดบัวบกจากบริษัท (commercial extract), สารสกัดจากการแยกสกัดด้วยบิวทานอล (butanol extract) และสารสกัดบัวบกจากห้องปฏิบัติการ (in-house crude extract) พบว่าการเติม poloxamer 188 ทำให้ได้ตำรับมีลักษณะทางกายภาพที่ใส และการปรับเปลี่ยน buffering agent ทำให้ได้ตำรับที่มีเสถียรภาพต่อการเปลี่ยนแปลงความเป็นกรดด่าง ตำรับเซรัมผสมสารสกัดบัวบกในความเข้มข้น 5-10% มีเสถียรภาพทางกายภาพดี ยกเว้นเซรัมที่มี 5% ของสารสกัดบัวบกจากห้องปฏิบัติการ การปลดปล่อยและการซึมผ่านของ 7.5% โดยน้ำหนักของสารสกัดจากบริษัทในเซรัม พบการซึมผ่านและปลดปล่อยได้เร็วกว่าตำรับเซรัมอื่น เมื่อเปรียบเทียบการซึมผ่านเฉพาะสารออกฤทธิ์ พบว่าเซรัมที่มีสารสกัด 5% ของสารสกัดจากการแยกสกัดด้วยบิวทานอลมีการซึมผ่านของปริมาณสารออกฤทธิ์กลุ่ม asiaticosides สูงที่สุด การศึกษาความเป็นพิษต่อเซลล์ HaCaT พบเพียงสารสกัดและเซรัมผสมสารสกัดจากห้องปฏิบัติการที่มีการรอดชีวิตของเซลล์ต่ำกว่า 90% พบเฉพาะสารสกัดและเซรัมผสมสารสกัดจากการแยกสกัดด้วยบิวทานอลที่ทำให้เกิดการเคลื่อนที่ของเซลล์มากกว่ากลุ่มควบคุม และเซรัมดังกล่าวทำให้เซลล์เคลื่อนที่ได้มากกว่าที่เวลา 24 ชั่วโมง การพัฒนาเซรัมจากสารสกัดบัวบกโดยการเปลี่ยนสารช่วยทางเภสัชกรรมทำให้ได้ตำรับเซรัมที่มีเสถียรภาพและประเภทสารสกัดบัวบกส่งผลต่อเสถียรภาพของตำรับตลอดจนประสิทธิภาพของบัวบก ดังนั้นเซรัมจากสารสกัดบัวบกจากการแยกสกัดด้วยบิวทานอลเหมาะสมที่จะนำไปทำการศึกษาต่อไป | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Srinakharinwirot University | |
dc.rights | Srinakharinwirot University | |
dc.subject | บัวบก | th |
dc.subject | เซรัม | th |
dc.subject | เสถียรภาพ | th |
dc.subject | การปลดปล่อย | th |
dc.subject | การซึมผ่าน | th |
dc.subject | Centella asiatica | en |
dc.subject | serum | en |
dc.subject | stability | en |
dc.subject | release | en |
dc.subject | permeability | en |
dc.subject.classification | Pharmacology | en |
dc.title | DEVELOPMENT OF SERUM FROM CENTELLA ASIATICA EXTRACT | en |
dc.title | การพัฒนาเซรัมจากสารสกัดบัวบก | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | ปริญญานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | Faculty of Pharmacy |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
gs591130268.pdf | 1.6 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.