Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1616
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNUTNAREE BUBPASIRIen
dc.contributorณัฐนรี บุบผศิริth
dc.contributor.advisorNuttida Pujeeben
dc.contributor.advisorณัฐธิดา ภู่จีบth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot University. Faculty of Fine Artsen
dc.date.accessioned2022-07-18T01:56:15Z-
dc.date.available2022-07-18T01:56:15Z-
dc.date.issued27/5/2022
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1616-
dc.descriptionMASTER OF EDUCATION (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThis quasi-experiment study was aimed at promoting activities for creativity development of autistic students as well as a comparing their abilities to use a fine-motor after participating the activities by employing the one group pre-posttest design. The data were purposively obtained from five students with autism aged 8-10 years old who study at With Love Learning Hub, Lad Phrao, Bangkok. The students suffer a fine-motor developmental skill delay, making their physical state comparable to those of children with 4-6 years of age. The research instruments included 1) 16 activities for creativity development organized two days a week and an hour a day, making a total of 8-week implementation; 2) Fine-motor development journal focusing on five measures, namely agility, flexibility, accuracy, two-hand operation and eye-hand coordination; and 3) a 30-item fine-motor and intelligence test. The obtained data were analyzed statistically through mean (x), standard deviation (SD), and t-test value. The findings revealed that students, after the experiment, demonstrated a greater capability of exercising their fine-motor than they did prior to the study with a statistical significance of .05.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้ เป็นงานวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi - experiments) โดยมีแผนการทดลองแบบ The one group pretest - postest design วึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สำหรับเด็กออทิสติกอายุ 8 - 10 ปี ที่มีพัฒนาการในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กล่าช้า และเปรียบเทียบความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กหลังหลังจากการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ เด็กอออทิสติก อายุ 8 - 10 ปี ซึ่งได้รับการวินิจฉัยจากจิตแพทย์ว่าอยู่ในกลุ่มภาวะออทิสซึม (Autism) ที่มีระดับพัฒนาการในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กล่าช้า เทียบเท่าเด็กช่วงอายุ 4 - 6 ปี จากศูนย์การเรียน รู้ด้วยรัก แขวง ลาดพร้าว เขต ลาดพร้าว กรุงเทพมหานคร จำนวน 5 คน เลือกโดยวิธีเจาะจง (purpostive sampling) วัดจากแบบทดสอบวัดความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กและสติปัญญาที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ 1) แผนการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ 16 แผน ระยะเวลาสัปดาห์ละ 2 วัน วันละ 1 ชั่วโมง รวมระยะเวลาในการทดลอง 8 สัปดาห์ 2) แบบบันทึกพัฒนาการการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กได้ 5 ด้าน ได้แก่ ความคล่องแคล่ว ยืดหยุ่น แม่นยำ การใช้มือทั้ง 2 ข้าง และการใช้ประสาทสัมผัสระหว่างมือกับตา 3) แบบทดสอบวัดความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กและสติปัญญา จำนวน 30 ข้อ สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสถิติ (t-test) แบบ Dependent Sample ผลการวิจัย พบว่า เด็กออทิสติกที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ มีความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก โดยรวมสูงกว่า ก่อนการจัดกิจกรรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectออทิซึมth
dc.subjectกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์th
dc.subjectความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กth
dc.subjectAutismen
dc.subjectArt Activitiesen
dc.subjectFine Motor Skillsen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleART ACTIVITIES IN SUPPORT FINE MOTOR SKILLS FOR AUTISMen
dc.titleการพัฒนาชุดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์เพื่อพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กสำหรับเด็กที่มีภาวะออทิซึมth
dc.typeThesisen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Fine Arts

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs611130152.pdf6.03 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.