Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1609
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKRITTIKA CHAREONWUTILAPen
dc.contributorกฤติกา เจริญวุฒิลาภth
dc.contributor.advisorJaruma Sakdeeen
dc.contributor.advisorจารุมา ศักดิ์ดีth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot University. Faculty of Dentistryen
dc.date.accessioned2022-07-18T01:51:25Z-
dc.date.available2022-07-18T01:51:25Z-
dc.date.issued27/5/2022
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1609-
dc.descriptionMASTER OF SCIENCE (M.Sc.)en
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)th
dc.description.abstractObjective: To compare the fracture resistance of simulated human immature teeth that had ProRoot® MTA as apical barriers and then restored with an anatomic post and filled in the entire root canal with ProRoot® MTA, then restored with composite resin. Materials and methods: Thirty extracted human mandibular premolars were prepared to be artificial immature teeth. They were randomly divided into three groups, 10 teeth each by the stratification size of the tooth. Group I – no root canal filling, Group II - 3 millimeters apical plug of ProRoot® MTA and anatomic post and Group III – entire root canal filled with ProRoot® MTA and composite restoration. The sample was subjected to static compression loads, 30 degrees to their long axis, until fractured under a Universal Testing Machine. The maximum force to fracture was recorded in Newtons and analyzed by One-Way ANOVA and Tukey’s Honestly Significance Difference (HSD). Results: From the statistical analysis, the mean load to fracture was found to be different at a statistically significant level among the groups. Following the Post-hoc test showed that the load in Group I (721.43 ± 95.80 newtons) were statistically lower than Group II (1,115.01 ± 101.50 newtons) and Group III (1,071.04 ± 124.97 newtons). One-third of the cervical were shown in the major fracture point which were presented in an oblique fashion from crown through root direction. Conclusions: Reinforcement of immature teeth with anatomic post or entire root canal filling with ProRoot® MTA effectively increased fracture resistance with no differences. The common fracture level was found at the crown and one-third cervical of the root levels.en
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ : เพื่อเปรียบเทียบความต้านทานการแตกหักของฟันจำลองสภาวะปลายรากฟันเปิดที่ได้รับการสร้างแนวกั้นปิดปลายรากฟันด้วยโปรรูทเอ็มทีเอแล้วบูรณะด้วยเดือยเสมือนรากฟันกับการอุดตลอดคลองรากฟันด้วยโปรรูทเอ็มทีเอร่วมกับบูรณะด้วยเรซินคอมโพสิต วัสดุและวิธีการ : ใช้ฟันกรามน้อยล่างของมนุษย์ที่ถูกถอน 30 ซี่ กรอเตรียมให้เป็นฟันจำลองสภาวะปลายรากฟันเปิด แบ่งฟันเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 10 ซี่ กลุ่มที่ 1 ไม่ได้รับการอุดภายในคลองรากฟัน, กลุ่มที่ 2 ทำการสร้างแนวกั้นปิดปลายรากฟันด้วยโปรรูทเอ็มทีเอหนา 3 มิลลิเมตร ร่วมกับเดือยเสมือนรากฟัน และกลุ่มที่ 3 ทำการอุดตลอดคลองรากฟันด้วยโปรรูทเอ็มทีเอและบูรณะด้วยเรซินคอมโพสิต ให้แรงกดซึ่งเป็นแรงคงที่ทำมุม 30 องศากับแนวแกนฟันบนตัวฟันจนเกิดการแตกหักด้วยเครื่องทดสอบแรงสากล  บันทึกค่าแรงมากที่สุดซึ่งทำให้ฟันแตกหักในหน่วยนิวตันและวิเคราะห์ด้วยสถิติวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ร่วมกับทดสอบโพสต์ฮอคด้วยวิธีของตูกี ผลการศึกษา : การวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยของแรงกดที่ทำให้ฟันเกิดการแตกหักทางสถิติแสดงความแตกต่างระหว่างกลุ่ม จากการทดสอบโพสฮอคพบว่ากลุ่มที่ 1 (721.43  ± 95.80 นิวตัน) มีค่าต่ำกว่ากลุ่มที่ 2 (1,115.01 ± 101.50 นิวตัน) และกลุ่มที่ 3 (1,071.04 ± 124.97 นิวตัน) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ การแตกหักของฟันที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่อยู่ที่ระดับ 1/3 ทางด้านคอฟัน โดยอยู่ในลักษณะเฉียงจากตัวฟันไปสู่รากฟัน สรุป : การเสริมความแข็งของฟันปลายรากเปิดด้วยการใช้เดือยเสมือนรากฟันหรือการอุดคลองรากฟันด้วยโปรรูทเอ็มทีเอมีประสิทธิภาพไม่แตกต่างกัน โดยการแตกหักพบที่ระดับตัวฟันและระดับ 1/3 ทางด้านคอฟันth
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectฟันที่มีการสร้างฟันไม่สมบูรณ์th
dc.subjectแนวกั้นปิดปลายรากฟันth
dc.subjectการเสริมความแข็งแรงให้กับฟันth
dc.subjectเดือยเสมือนรากฟันth
dc.subjectโปรรูทเอ็มทีเอth
dc.subjectความต้านทานการแตกหักth
dc.subjectImmature teethen
dc.subjectApical barrieren
dc.subjectReinforcementen
dc.subjectAnatomic posten
dc.subjectProRoot® MTAen
dc.subjectFracture resistanceen
dc.subject.classificationDentistryen
dc.titleFRACTURE RESISTANCE OF STIMULATED IMMATURE PERMANENT TEETHWITH ANATOMIC POSTen
dc.titleความต้านทานการแตกหักของฟันจำลองสภาวะปลายรากฟันเปิดเมื่อได้รับการเสริมความแข็งแรงด้วยเดือยเสมือนรากฟันth
dc.typeThesisen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Dentistry

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs621110053.pdf2.07 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.