Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1599
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | KITTICHAI OUMSUYSRI | en |
dc.contributor | กิตติชัย อ่วมสวยศรี | th |
dc.contributor.advisor | Piyada Sombatwattana | en |
dc.contributor.advisor | ปิยดา สมบัติวัฒนา | th |
dc.contributor.other | Srinakharinwirot University. BEHAVIORAL SCIENCE RESEARCH INSTITUTE | en |
dc.date.accessioned | 2022-07-18T01:40:36Z | - |
dc.date.available | 2022-07-18T01:40:36Z | - |
dc.date.issued | 27/5/2022 | |
dc.identifier.uri | http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1599 | - |
dc.description | MASTER OF SCIENCE (M.S.) | en |
dc.description | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) | th |
dc.description.abstract | The aims of this comparative correlation research are as follows: (1) to compare well-being and self-care behavior of elderly people in nursing homes in terms of gender and age; (2) to study the interaction between the personal, social and environmental factors affecting the well-being and self-care behavior of elderly people in nursing homes in subgroups with different social and biological characteristics; and (3) to study the predictive power of people suffering from the individual factors and the social environment in predicting the well-being and self-care behavior of elderly people in nursing homes. The group as a whole and people in the subgroups also had different biological and social factors. The sample group used in the research consisted of 160 elderly people in the nursing home of a local administration department and obtained by multi-stage random sampling. Using a collection of measurements as six-level appraisal section, all seven episodes had an alpha coefficient of confidence between .77 and .92 The data were analyzed using descriptive statistics and analyzed values of the one-way analysis of variance, two-way analysis of variance and Stepwise multiple regression analysis, all based on the results of this study. The results of the research were as follows: (1) the elderly people in nursing home differed in terms of gender and the well-being and self-care behavior of elderly people were at a statistically significant level of .05; (2) to meet the interaction between the self-compassion variables and social support in subgroups; (3) the factors influencing these groups, such as self-compassion, optimism, and self-efficacy can jointly predict the well-being and self-care behavior of elderly in nursing homes at 46% and the important factors that predict well-being and self-care behavior of elderly people in nursing homes included optimism, self-compassion and self-efficacy with a statistical significance of .05 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยสหสัมพันธ์เชิงเปรียบเทียบครั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย 1) เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมดูแลสุขภาวะตนเองที่มีลักษณะทางชีวสังคมต่างกัน 2) เพื่อศึกษาปฏิสัมพันธ์ร่วมระหว่างกลุ่มตัวแปรปัจจัยด้านบุคคล และกลุ่มตัวแปรปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมดูแลสุขภาวะตนเองที่มีลักษณะชีวสังคมต่าง ๆ 3) เพื่อศึกษาอำนาจการทำนายและค้นหาตัวทำนายที่สำคัญของปัจจัยทางจิตและด้านสภาพแวดล้อมทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมดูแลสุขภาวะตนเอง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ ผู้สูงอายุที่เข้ารับบริการในสถานสงเคราะห์คนชรา กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน 160 คน ได้มาจากการสุ่มหลายขั้นตอน ในการเก็บแบบวัดเป็นมาตราประเมินค่า 6 ระดับ ทั้งหมด 7 ตอน มีค่าความเชื่อมั่นสัมประสิทธิ์แอลฟ่าอยู่ระหว่าง .77 ถึง .92 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา วิเคราะห์ค่าที วิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว วิเคราะห์ความแปรปรวนแบบสองทาง และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้น ผลการวิจัยพบว่า 1) ผู้สูงอายุที่มีเพศแตกต่างกันมีพฤติกรรมดูแลสุขภาวะตนเองแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) พบปฏิสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรความกรุณาต่อตนเองและการสนับสนุนทางสังคมในกลุ่มรวม 3) กลุ่มปัจจัยด้านบุคคล (ความกรุณาต่อตนเอง, การมองโลกในแง่ดี, การรับรู้ความสามารถของตนเอง) สามารถร่วมกันทำนายพฤติกรรมดูแลสุขภาวะตนเองในกลุ่มรวมได้ ร้อยละ 46 ตัวแปรสำคัญที่ทำนายพฤติกรรมดูแลสุขภาวะตนเอง ได้แก่ การมองโลกในแง่ดี ความกรุณาต่อตนเอง การรับรู้ความสามารถของตนเองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Srinakharinwirot University | |
dc.rights | Srinakharinwirot University | |
dc.subject | ปัจจัยด้านบุคคล | th |
dc.subject | ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมทางสังคม | th |
dc.subject | พฤติกรรมดูแลสุขภาวะตนเอง | th |
dc.subject | ผู้สูงอายุ | th |
dc.subject | สถานสงเคราะห์คนชรา | th |
dc.subject | Personal factors | en |
dc.subject | Social environmental factors | en |
dc.subject | Elderly people | en |
dc.subject | Nursing homes | en |
dc.subject | Well-being | en |
dc.subject | Self-care behavior | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.title | PERSONAL AND SOCIAL ENVIRONMENTAL FACTORS RELATED TO WELL-BEING AND SELF-CARE BEHAVIOR AMONG ELDERLY PEOPLE IN NURSING HOMES | en |
dc.title | ปัจจัยด้านบุคคลและปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมดูแลสุขภาวะตนเองของผู้สูงอายุในสถานสงเคราะห์คนชรา | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | ปริญญานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | Institute of Research in Behavioral Science |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
gs601130237.pdf | 4.28 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.