Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1569
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKANOKPOND DUANGSAOen
dc.contributorกนกพร ดวงเสาร์th
dc.contributor.advisorPiyada Sombatwattanaen
dc.contributor.advisorปิยดา สมบัติวัฒนาth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot University. BEHAVIORAL SCIENCE RESEARCH INSTITUTEen
dc.date.accessioned2022-06-07T07:38:59Z-
dc.date.available2022-06-07T07:38:59Z-
dc.date.issued17/12/2021
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1569-
dc.descriptionMASTER OF SCIENCE (M.S.)en
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)th
dc.description.abstractThe objectives of this study are as follows: (1) to use confirmatory factor analysis to analyze career adaptability of undergraduate Communication Arts students; (2) to analyze the predictive power of psycho-social variables of career adaptability of undergraduate students in undergraduate Communication Arts students. The data from 402 students were collected using multistage-sampling. The questionnaire developed for this study used a six-point rating scale to measure six dimensions of career adaptability. The questionnaire was assessed by experts and yielding a Cronbach’s Alpha between 0.806 to 0.952. The following statistical measures were obtained using a statistical package to conduct confirmatory factor analysis and with a Chi-square of 1.27, df = 1.00, GFI = 1.00, CFI = 1.00, RMSEA = 0.026 and NFI = 1.00. It was found that career curiosity and career confidence had the highest factor loading of 0.90; the factor loading for career control was 0.83 and career concern was 0.67. The values of R-square were between 0.45 and 0.8 and regression analysis found that learning goal orientation, proactive personality, protean, a boundary-free career attitude and social support were able to predict around 75.3% of career adaptability at a 1% level of significance.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันของความสามารถในการปรับตัวทางอาชีพของนักศึกษานิเทศศาสตร์ และเพื่อศึกษาอำนาจการทำนายและค้นพบตัวทำนายที่สำคัญของปัจจัยทางจิตและทางสังคมที่มีต่อความสามารถในการปรับตัวทางอาชีพของนักศึกษานิเทศศาสตร์ ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่างที่เป็นนักศึกษานิเทศศาสตร์ชั้นปี 4 จำนวน 402 คน ใช้การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูลเป็นแบบสอบถาม เป็นมาตรประเมินค่า 6 ระดับ จำนวน 6 แบบวัด ที่ผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้เชี่ยวชาญ มีค่าความเชื่อมั่นแบบสัมประสิทธิ์แอลฟาอยู่ระหว่าง 0.806 ถึง 0.952 ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน พบว่า โมเดลการวัดความสามารถในการปรับตัวทางอาชีพของนักศึกษามีความกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าไค-สแควร์ = 1.27, df = 1, GFI = 1.00, CFI = 1.00, RMSEA = 0.026 และ NFI = 1.00 โดยที่ด้านความใฝ่รู้ในอาชีพและด้านความมั่นใจในตนเองทางอาชีพ มีค่าน้ำหนักองค์ประกอบมากที่สุดเท่ากับ 0.90 รองลงมาด้านการควบคุมตนในอาชีพ และด้านความใส่ใจในอาชีพ ค่าน้ำหนักองค์ประกอบเท่ากับ 0.83 และ 0.67 ตามลำดับ และมีค่าสัมประสิทธิ์พยากรณ์ (R2) อยู่ระหว่าง 0.45 – 0.82 เป็นค่าน้ำหนักที่เหมาะสม สำหรับการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบนำเข้า พบว่า การมุ่งเน้นเป้าหมายการเรียนรู้ บุคลิกภาพเชิงรุก เจตคติต่ออาชีพที่มีอิสระและไร้ข้อจำกัด การสนับสนุนทางสังคม ร่วมกันทำนายความสามารถในการปรับตัวทางอาชีพของนักศึกษาได้ ร้อยละ 75.3 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01th
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectความสามารถในการปรับตัวทางอาชีพth
dc.subjectนักศึกษาth
dc.subjectนิเทศศาสตร์th
dc.subjectการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันth
dc.subjectcareer adaptabilityen
dc.subjectundergraduate studenten
dc.subjectcommunication artsen
dc.subjectcomfirm factor analysisen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationPsychologyen
dc.subject.classificationPsychologyen
dc.titleTHE EFFECTS OF PSYCHO-SOCIAL FACTORS TO CAREER ADAPTABILITYOF COMMUNICATION ARTS UNDERGRADUATE STUDENTS IN BANGKOKen
dc.titleปัจจัยทางจิตและทางสังคมที่มีต่อความสามารถในการปรับตัวทางอาชีพของนักศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาวิชานิเทศศาสตร์ในเขตกรุงเทพมหานครth
dc.typeThesisen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
Appears in Collections:Institute of Research in Behavioral Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs621130424.pdf13.62 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.