Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1450
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPIMNARA SABRUEANGRINen
dc.contributorพิมพ์นารา ทรัพย์เรืองรินth
dc.contributor.advisorSanti Termprasertsakulen
dc.contributor.advisorสันติ เติมประเสริฐสกุลth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot University. Faculty of Business Administration for Societyen
dc.date.accessioned2021-09-08T12:57:09Z-
dc.date.available2021-09-08T12:57:09Z-
dc.date.issued16/8/2021
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1450-
dc.descriptionMASTER OF BUSINESS ADMINISTRATION (M.B.A.)en
dc.descriptionบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บธ.ม.)th
dc.description.abstractThe research aims to study the factors influencing the financial freedom of millennials in the Bangkok metropolitan area. The factors included demography, financial literacy, and personal risk awareness which were assumed to influence the financial freedom of millennials in this paper. Moreover, the survival ratio and the wealth ratio employed to measure the financial freedom of millennials in the Bangkok metropolitan area. The sample in this research included 400 millennials who live or stay in the Bangkok metropolitan area. A Questionnaire was used as a tool for data collection. The statistics used in the hypothesis testing included multiple regression analysis. The results showed that millennials in the Bangkok metropolitan area had financial freedom, since the average survival ratio is 5.7114 and the average wealth ratio is 3.1895, with both ratios are greater than one. The multiple regression results revealed that age positively influenced financial freedom in terms of the survival ratio and the wealth ratio of millennials in the Bangkok metropolitan area and at a statistically significant level of 0.01. In addition, financial behavior negatively influencing financial freedom in terms of the survival ratio and the wealth ratio of millennials in the Bangkok metropolitan area and at statistically significant levels of 0.05 and 0.01, respectively.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อศึกษา ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่ออิสรภาพทางการเงินของชาวมิลเลนเนียลในกรุงเทพมหานคร โดยศึกษาลักษณะทางประชากรศาสตร์ ทักษะทางการเงิน และการตระหนักถึงความเสี่ยงส่วนบุคคล และวัดระดับอิสรภาพทางการเงินของชาวมิล-เลนเนียลในกรุงเทพมหานครด้วยอัตราส่วนความอยู่รอดและอัตราส่วนความมั่งคั่ง ซึ่งเป็นวิธีการวัดระดับอิสรภาพทางการเงินรูปแบบที่แตกต่างจากงานวิจัยก่อนหน้า โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ชาวมิลเลนเนียลที่อาศัยหรือมีภูมิลำเนาอยู่ในกรุงเทพมหานคร จำนวนทั้งสิ้น 400 ตัวอย่าง โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล ซึ่งสถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน คือ การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่า คะแนนเฉลี่ยของอัตราส่วนความอยู่รอดเท่ากับ 5.7114 และคะแนนเฉลี่ยอัตราส่วนความมั่งคั่งของชาวมิลเลนเนียลในกรุงเทพ-มหานครเท่ากับ 3.1895 ซึ่งอัตราส่วนทั้งสอง มีค่ามากกว่า 1 หมายความว่า โดยเฉลี่ยแล้วชาวมิล-เลนเนียลมีอิสรภาพทางการเงิน การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ แสดงให้เห็นว่า ลักษณะทางประชากรศาสตร์ด้านอายุ มีอิทธิพลต่ออิสรภาพทางการเงินด้านอัตราส่วนความอยู่รอดและอัตราส่วนความมั่งคั่งของชาวมิลเลนเนียลในกรุงเทพมหานครในทิศทางเดียวกัน ณ ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.01 และทักษะทางการเงินด้านพฤติกรรมทางการเงินมีอิทธิพลต่ออิสรภาพทางการเงินด้านอัตราส่วนความอยู่รอดและอัตราส่วนความมั่งคั่งของชาวมิลเลนเนียลในกรุงเทพ-มหานครในทิศทางตรงข้าม ณ ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 และ 0.10 ตามลำดับth
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectทักษะทางการเงินth
dc.subjectอิสรภาพทางการเงินth
dc.subjectชาวมิลเลนเนียลth
dc.subjectFinancial Literacyen
dc.subjectFinancial Freedomen
dc.subjectMillennialsen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleFACTORS INFLUENCING FINANCIAL FREEDOMOF MILLENNIALS IN BANGKOKen
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่ออิสรภาพทางการเงินของชาวมิลเลนเนียลในกรุงเทพมหานครth
dc.typeThesisen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Business administration for society

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs631110145.pdf2.99 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.