Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/136
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPANU PATTANAPANITHIPONGen
dc.contributorภานุ พัฒนปณิธิพงศ์th
dc.contributor.advisorPrit Supasertsirien
dc.contributor.advisorพฤทธิ์ ศุภเศรษฐศิริth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot University. Faculty of Fine Artsen
dc.date.accessioned2019-06-18T02:26:31Z-
dc.date.available2019-06-18T02:26:31Z-
dc.date.issued17/5/2019
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/136-
dc.descriptionDOCTOR OF ARTS (D.A.)en
dc.descriptionศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ศศ.ด.)th
dc.description.abstractResearch Pottery in the Chao Phraya River basin Purpose 1) To study pottery and pottery life style, wisdom, community management, pottery production in the Chao Phraya River basin. 2) to analyze consumer behavior and consumer attitudes towards pottery in the Chao Phraya River Basin; 3) to analyze synthesis factors to promote the pottery production community. Method Use descriptive research methods. The researcher collected data and field information in the informants area. The sample selection method was a pottery manufacturer with more than 10 years of experience in 4 communities, namely Ban Mon, Ban Kaeng Sub-district, Muang District, Nakhon Sawan Province. Ban Khok Boom Village, Choeng Klang District, Bang Rachan District Singburi Province Ban Klong Sa Bua Community Tambon Klong Sao Bua Amphoe Mueang Phra Nakhon Si Ayutthaya Phra Nakhon Si Ayutthaya Province And Koh Kret community Ko Kret District Amphoe Pak Kret The total of 16 cases were collected by using in-depth interview. Subgroup discussion And participatory and non-participatory observation. Content analysis Classified Information And science The research found that: 1) Pottery community in Chao Phraya River basin has a unique community identity. The pottery lifestyle is closely linked to the history of the community and the development of pottery. There is a belief in rituals in making pottery from generation to generation. The container model is closely linked to the pottery wisdom. And community management services have the power of harmony. Sharing in the community Maintaining the environmental resources of the community. 2) Pottery consumptive behavior found that the overall opinion that influenced the purchase decision was the product price / style. 3) The factors that will promote the community's way of producing pottery are as follows: 1) promoting the lifestyle of the pottery community; Inheritance and transfer of pottery wisdom 2) Promotion of the wisdom of the pottery community. The preservation of old wisdom to the development of new wisdom. Value adding and value; 3) marketing and community pottery management, including product and service issues. Distribution channels Promotion Presentation of image Natural resources, technology personnelen
dc.description.abstractงานวิจัยเรื่อง เครื่องปั้นดินเผาในเขตลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา มีความมุ่งหมาย 1) เพื่อเพื่อศึกษาภาชนะดินเผากับสภาพวิถีชีวิต รูปแบบ ภูมิปัญญา การบริหารจัดการของชุมชนแหล่งผลิตเครื่องปั้นดินเผาในเขตลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา 2)เพื่อวิเคราะห์พฤติกรรมการบริโภคและทัศนคติของผู้บริโภคกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อเครื่องปั้นดินเผาในเขตลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา 3) เพื่อวิเคราะห์สังเคราะห์ปัจจัยที่จะส่งเสริมวิถีชุมชนผลิตเครื่องปั้นดินเผา วิธีดำเนินการวิจัย ใช้วิธีวิจัยเชิงพรรณนาวิเคราะห์ ศึกษารวบรวมข้อมูลเอกสารและภาคสนามในพื้นที่ผู้ให้ข้อมูลใช้วิธีการเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง คือ ผู้ผลิตเครื่องปั้นดินเผามีประสบการณ์นานกว่า 10 ปีใน 4 ชุมชนได้แก่ ชุมชนบ้านมอญ ตำบลบ้านแก่ง อำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ ชุมชนบ้านโคกหม้อ ตำบลเชิงกลัด อำเภอบางระจัน จังหวัดสิงห์บุรี ชุมชนบ้านคลองสระบัว ตำบลคลองสระบัว อำเภอเมืองพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และชุมชนเกาะเกร็ด ตำบลเกาะเกร็ด อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี รวมจำนวน 17 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์โดยใช้แบบสัมภาษณ์เจาะลึก สนทนากลุ่มย่อย และการสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วมและไม่มีส่วนร่วม วิเคราะห์เนื้อหา จัดจำแนกข้อมูลรายประเด็น ผลวิจัยพบว่า 1) ชุมชนเครื่องปั้นดินเผาในเขตลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยามีอัตลักษณ์เฉพาะชุมชน วิถีชีวิตของผู้ทำเครื่องปั้นดินเผามีความผูกพันกับประวัติศาสตร์ชุมชนและพัฒนาการเครื่องปั้นดินเผา มีคติความเชื่อพิธีกรรมในการทำเครื่องปั้นดินเผาจากรุ่นสู่รุ่น รูปแบบภาชนะมีความเชื่อมโยงสัมพันธ์กับภูมิปัญญาเครื่องปั้นดินเผา และการบริการจัดการของชุมชนมีพลังแห่งความสามัคคี เอื้อเฟื้อแบ่งปันกันในชุมชน รักษาทรัพยากรสิ่งแวดล้อมของชุมชน 2)พฤติกรรมการบริโภคเครื่องปั้นดินเผา พบว่า ความคิดเห็นในภาพรวมที่ที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อมากที่สุด ได้แก่ ด้านราคา ด้านผลิตภัณฑ์/รูปแบบ และด้านการส่งเสริมการจำหน่าย 3) ปัจจัยที่จะส่งเสริมวิถีชุมชนผลิตเครื่องปั้นดินเผา ได้แก่ 1) การส่งเสริมด้านวิถีชีวิตชุมชนเครื่องปั้นดินเผา การสืบทอดและถ่ายทอดภูมิปัญญาเครื่องปั้นดินเผา 2) การส่งเสริมด้านภูมิปัญญาของชุมชนเครื่องปั้นดินเผา การสืบสานอนุรักษ์ภูมิปัญญาเดิมสู่การต่อยอดพัฒนาภูมิปัญญาใหม่ การเพิ่มมูลค่าและคุณค่า 3) ด้านการตลาดและการบริหารจัดการชุมชนเครื่องปั้นดินเผา ได้แก่ ประเด็น ผลิตภัณฑ์และการให้บริการ ช่องทางการจัดจำหน่าย การส่งเสริมการจำหน่าย การนำเสนอภาพลักษณ์ ทรัพยากรธรรมชาติ บุคคลากร เทคโนโลยีth
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectเครื่องปั้นดินเผาth
dc.subjectภูมิปัญญาth
dc.subjectพฤติกรรมการบริโภคth
dc.subjectTribal clay molding machineen
dc.subjectknowledgeen
dc.subjectConsumption behavioren
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titlePOTTERY IN SOURCE AREA CHAO-PRAYA RIVER VALLEYen
dc.titleเครื่องปั้นดินเผาในเขตลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาth
dc.typeDissertationen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Fine Arts

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs562150020.pdf4.41 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.