Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1361
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorTHITIMARD WINAIRUKen
dc.contributorธิติมาศ วินัยรักษ์th
dc.contributor.advisorRumpa Boonsinsukhen
dc.contributor.advisorรัมภา บุญสินสุขth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot University. Faculty of Health Scienceen
dc.date.accessioned2021-09-08T12:40:08Z-
dc.date.available2021-09-08T12:40:08Z-
dc.date.issued17/5/2019
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1361-
dc.descriptionDOCTOR OF PHILOSOPHY (Ph.D.)en
dc.descriptionปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.abstractThe Balance Evaluation Systems Test (BESTest) is a valid and reliable tool to evaluate balance impairments, but the administration time is long and some items may not be pertinent to people with stroke. This study aims to develop the short form BESTest for people with stroke (S-BESTest) and test psychometric properties of the S-BESTest in people with stroke such as the reliability, validity, and responsiveness. Methods: The S-BESTest was created from the BESTest scores from one hundred and ninety-five participants with stroke during subacute or chronic stage using Rasch analysis and expert agreement. Twelve persons with subacute stroke and twenty persons with chronic stroke participated in the intrarater and interrater reliability study. Seventy persons with subacute stroke participated in the concurrent validity using the Berg Balance Scale (BBS) as the reference standard. The predictive validity was studied to predict motor outcome at discharge using the Stroke Rehabilitation Assessment of Movement (STREAM). The S-BESTest determined the floor and ceiling effect. Internal and external responsiveness measure at 2 and 4 weeks were calculated using the standardized response mean (SRM) and the minimal clinically important difference (MCID), respectively. The Receiver Operating Characteristics (ROC) curve approach was used to demonstrate external responsiveness that used to quantify the sensitivity, specificity and posttest accuracy for classifying persons with no balance change and with balance change based on the BBS score change < 7 and higher/ the global rating of change (GRC) score change ≤ 5 and higher. Results: Thirteen items were included in the S-BESTest. The intrarater and interrater reliability of the S-BESTest were excellent with ICC of 0.98 and 0.95. The S-BESTest presented excellent concurrent validity that was highly correlated with the BBS (Spearman Rank r=.95). The S-BESTest was able to predict motor function outcome at discharge. In addition, the S-BESTest showed no floor and ceiling effects. Internal responsiveness measure at 2 and 4 weeks of the S-BESTest were high (SRM 1.28 and 1.29). The MCID for persons with subacute stroke who have balance change after getting intervention on the S-BESTest measure at 2 and to 4 weeks was 7 and 6 points, respectively. The S-BESTest is the shorter version of the BESTest that contains the items essential for assessing balance impairments in people with stroke. The S-BESTest reduced the administration time in clinical practice and is reliable, valid and sensitive to change in persons with subacute stroke.en
dc.description.abstractแบบประเมิน Balance Evaluation Systems Test (BESTest) เป็นแบบประเมินสำหรับทดสอบสาเหตุของความบกพร่องในการทรงตัวที่มีความตรงและความเที่ยง แต่ใช้เวลาในการประเมินนานและบางรายการอาจไม่เกี่ยวข้องกับผู้ที่เป็นโรคหลอดเลือดสมอง การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแบบประเมินฉบับย่อ BESTest สำหรับผู้ที่เป็นโรคหลอดเลือดสมอง (S-BESTest) และทดสอบคุณสมบัติของแบบประเมิน S-BESTest ในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง เช่น ความเที่ยง ความตรง และความไวในการวัดการเปลี่ยนแปลง แบบประเมิน S-BESTest ถูกสร้างขึ้นจากคะแนน BESTest มีt จากผู้เข้าร่วมการศึกษา 195 คนที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองระยะหลังเฉียบพลันหรือเรื้อรัง โดยใช้การวิเคราะห์ Rasch และข้อตกลงจากผู้เชี่ยวชาญ ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะหลังเฉียบพลันจำนวน 12 คนและผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะเรื้อรังจำนวน 20 คนเข้าร่วมในการศึกษาความเที่ยงภายในบุคคลและระหว่างบุคคล ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะหลังเฉียบพลันจำนวน 70 คนเข้าร่วมในการศึกษาความตรงสภาพปัจจุบัน โดยใช้ Berg Balance Scale (BBS) เป็นแบบประเมินมาตรฐานที่นิยมใช้ในทางคลินิก เพื่อหาความสัมพันธ์ของคะแนนจากแบบประเมิน S-BESTest ใช้สถิติสหสัมพันธ์สเปียแมนแรงค์ (Spearman Rank order correlation) ความตรงตามพยากรณ์ได้รับการศึกษาเพื่อทำนาย motor outcome เมื่อจำหน่ายผู้ป่วย โดยใช้แบบประเมิน Stroke Rehabilitation Assessment of Movement (STREAM) ศึกษาแบบประเมิน S-BESTest โดยหัวข้อที่ประเมินต้องไม่ยากจนเกินไป จนทำให้ไม่มีผู้ใดประเมินผ่านคะแนนระดับแรกได้ (floor effect) หรือในทางกลับกัน หัวข้อที่ประเมินต้องไม่ง่ายเกินไปจนผู้ถูกประเมินที่มีความสามารถไม่เท่ากันได้คะแนนเกือบเต็มหมด (ceiling effect) แบบประเมิน S-BESTest มีความไวในการวัดการเปลี่ยนแปลงภายในและภายนอกที่ 2 และ 4 สัปดาห์โดยคำนวณจากค่า standardized response mean (SRM) และค่าที่น้อยที่สุดที่แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงทางคลินิกอย่างชัดเจน (MCID) ตามลำดับ ใช้สถิติ Receiver Operating Characteristics (ROC) curve เพื่อแสดงให้เห็นถึงความไวในการวัดการเปลี่ยนแปลงภายนอกที่ใช้ในการประเมินความสามารถของแบบประเมิน S-BESTest ในการจำแนกบุคคลที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงความสามารถในการทรงตัว (BBS <7) และบุคคลที่มีการเปลี่ยนแปลงความสามารถในการทรงตัว (BBS >7) หรือการเปลี่ยนแปลงของคะแนน global rating of change (GRC) ≤ 35 และสูงกว่า ผลการศึกษาพบว่า 13 รายการถูกรวมอยู่ในแบบประเมิน S-BESTest มีความเที่ยงทั้งภายในบุคคลและระหว่างบุคคลของแบบประเมิน S-BESTest อยู่ในระดับสูง (ICC=0.98 และ 0.95 ตามลำดับ) แบบประเมิน S-BESTest แสดงให้เห็นถึงความตรงตามสภาพปัจจุบันที่ดีเยี่ยม โดยคะแนนของแบบประเมิน S-BESTest มีความสัมพันธ์กับแบบประเมิน BBS (r = .95) อยู่ในระดับสูง ซึ่งแปลผลว่าแบบประเมิน S-BESTest มีความตรงในการวัดความสามารถในการทรงตัว นอกจากนี้แบบประเมิน S-BESTest ยังสามารถทำนายผล motor outcome เมื่อจำหน่ายผู้ป่วยได้อีกด้วย โดยนอกจากนี้แบบประเมิน S-BESTest ยังไม่มี floor และ ceiling effect ความไวในการวัดการเปลี่ยนแปลงภายในที่ 2 และ 4 สัปดาห์ของแบบประเมิน S-BESTest มีค่าสูง (SRM 1.28 และ 1.29) ค่าที่น้อยที่สุดที่แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงทางคลินิกอย่างชัดเจนสำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะหลังเฉียบพลันที่มีการเปลี่ยนแปลงการทรงตัวหลังจากได้รับการรักษาทางกายภาพบำบัดของแบบประเมิน S-BESTest โดยวัดที่ 2 และ 4 สัปดาห์ คือ 7 และ 6 คะแนน ตามลำดับ จากผลการศึกษาสรุปได้ว่า แบบประเมิน S-BESTest เป็นแบบประเมินฉบับย่อของ BESTest ซึ่งมีรายการที่จำเป็นสำหรับการประเมินความบกพร่องในการทรงตัวของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง โดยแบบประเมิน S-BESTest สามารถช่วยลดระยะเวลาในประเมินทางคลินิกและเป็นแบบประเมินที่มีความเที่ยง ความตรงและความไวในการวัดการเปลี่ยนแปลงในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะหลังเฉียบพลันth
dc.language.isoen
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectการทดสอบคุณสมบัติทางจิตวิทยา - กายภาพบำบัด - การทรงตัว - โรคหลอดเลือดสมองth
dc.subjectpsychometric - physical therapy - postural control - cerebrovascular disease.en
dc.subject.classificationMultidisciplinaryen
dc.titleTHE DEVELOPMENT OF SHORT FORM CLINICAL TEST FOR ASSESSING CAUSES OF BALANCE DEFICITS IN PATIENTS WITH SUBACUTE STROKEen
dc.titleการพัฒนาแบบประเมินทางคลินิกฉบับย่อสำหรับทดสอบสาเหตุความบกพร่องในการทรงตัวสำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะหลังเฉียบพลันth
dc.typeDissertationen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Health Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs561120041.pdf3.04 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.