Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1344
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPONGSAPICH KAEWKULTHORNen
dc.contributorพงศพิชญ์ แก้วกุลธรth
dc.contributor.advisorVeera Phunsueen
dc.contributor.advisorวีระ พันธุ์เสือth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot University. Faculty of Fine Artsen
dc.date.accessioned2021-09-08T12:16:29Z-
dc.date.available2021-09-08T12:16:29Z-
dc.date.issued16/8/2021
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1344-
dc.descriptionDOCTOR OF ARTS (D.A.)en
dc.descriptionศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ศศ.ด.)th
dc.description.abstractThe objective of this research is to examine the cultural linkages between the Thai Pipat and the Khmer Pinpeat, utilizing the principles of cross-cultural dialogue on traditional music to characterize Thai and Khmer musical phenomena in terms of historical background, musical features, and roles. This includes the relationship between melodies through the study of the Gong Wong Yai melody of the Thai evening prelude and the melody of Gong Wong Tauch (or Gong in Thai) in the Horm Rong Tauch Prelude of Khmer to demonstrate the similarities, differences, and co-characteristics in music through qualitative research.  It was discovered that the Pipat and Pinpeat ensembles share common characteristics in terms of nomenclature, and music history, which correlated with the beliefs, faiths, inscriptions, and contemporary literature from both countries. This includes the connections between music and the royal court. The alterations in music caused by politics and the main melody of the song. The musical co-characteristics, as stated, consisted of the physical characteristics of the instrument, musical ensembles, song form, performance technique, sound characteristics, and comparable musical creativity procedures. This includes the musical structures that consist of song length, fundamental structure, the sound groups utilized in arranging melodies, rhythm patterns, melody patterns, and musical expressions of a melody are also comparable. This may be counted as substantiation of the in-depth structures of a shared music culture. In terms of melodic differences, it is an independent musical evolution based on shared cultural roots and emotions, which are presented cohesively, and are a crucial answer to the notion of music that had connected or was the same before the Modern State boundaries. As a result, the musical progression of the Thai Pipat and the Khmer Pinpeat as musical kin is reflected in the similarities and variances of the melody. Until it becomes a shared and common musical heritage, perspectives on how to improve mutual understanding and live together peacefully and sustainably through a musical dimension must be examined.en
dc.description.abstractวิจัยฉบับนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมของปี่พาทย์ไทย และพิณเพียตกัมพูชาโดยใช้หลักการของทวิวัจน์ทางดนตรี (Cross-cultural dialogue of traditional music) เป็นเครื่องมือในการอธิบายปรากฏการณ์ทางดนตรีของประเทศไทยและกัมพูชา ในบริบทความเป็นมา คุณลักษณะทางดนตรี และบทบาทหน้าที่ รวมถึง ความสัมพันธ์ของทำนองเพลง ผ่านการศึกษาทำนองฆ้องวงใหญ่เพลงชุดโหมโรงเย็นของไทยและทำนองฆ้องวงโตจ (หรือฆ้องในภาษาไทย) เพลงโหมโรงโตจของกัมพูชา เพื่อนำเสนอความเหมือน ความแตกต่าง และลักษณะร่วมทางดนตรี โดยใช้กระบวนการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า วงปี่พาทย์และวงพิณเพียตมีลักษณะร่วมในด้านการตั้งชื่อ ความเป็นมาทางดนตรีที่ผูกโยงกับคติความเชื่อ ความศรัทธา จารึกและวรรณกรรมที่ร่วมสมัยของทั้งสองประเทศ รวมทั้งความสัมพันธ์ของดนตรีกับราชสำนัก การเปลี่ยนแปลงทางดนตรีที่ได้รับอิทธิพลจากการเมืองการปกครอง และทำนองหลักของเพลง ลักษณะร่วมทางดนตรีดังกล่าว ส่งผลให้ลักษณะทางกายภาพของเครื่องดนตรี รูปแบบวงดนตรี รูปแบบบทเพลง วิธีการบรรเลงและบทบาทหน้าที่ของวงดนตรี ลักษณะเสียงและวิธีคิดการสร้างสรรค์ดนตรีมีความคล้ายคลึงกัน รวมทั้งโครงสร้างทางดนตรีที่ประกอบด้วยความยาวของบทเพลง เสียงของลูกตก กลุ่มเสียงที่ใช้ในการเรียบเรียงทำนองเพลง รูปแบบจังหวะ รูปแบบทำนอง และสำนวนทางดนตรีจากทำนองเพลงมีความคล้ายคลึงกันด้วย นับว่าเป็นเครื่องยืนยันถึงโครงสร้างเชิงลึกของวัฒนธรรมดนตรีที่ร่วมกัน ในส่วนความแตกต่างกันของทำนองเพลงนับเป็นพัฒนาการทางดนตรีที่เป็นอิสระจากกันบนพื้นฐานของรากของวัฒนธรรมที่ร่วมกันอารมณ์เพลงที่ถูกถ่ายทอดออกมาในลักษณะที่มีความสอดคล้องกันเป็นคำตอบสำคัญด้านผลผลิตทางความคิดของดนตรีที่เคยเดินทางเชื่อมโยงกันหรือเป็นผืนแผ่นดินเดียวกันมาก่อนจะมีเส้นแบ่งเขตแดนแบบรัฐสมัยใหม่ (Modern State) ความเหมือนและความแตกต่างของทำนองเพลงจึงเป็นพัฒนาการทางดนตรีของปี่พาทย์ไทยและพิณเพียตกัมพูชาในฐานะเครือญาติทางดนตรี จนเกิดเป็นมรดกร่วมทางดนตรีที่เป็นอีกมุมมอง เพื่อสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างกัน และอยู่ร่วมกันอย่างสันติและยั่งยืนผ่านมิติทางดนตรีth
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectทวิวัจน์ ปี่พาทย์ไทย พิณเพียตกัมพูชา โหมโรงเย็น โหมโรงโตจ ลักษณะร่วมทางดนตรีth
dc.subjectCross-cultural dialogue Thai Pipat Khmer Pinpeat Co-characteristicsen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleCROSS - CULTURAL DIALOGUE OF TRADITIONAL MUSIC AMONG THAI PIPAT AND KHMER PINPEAT.en
dc.titleทวิวัจน์ทางดนตรีระหว่างปี่พาทย์ไทยและพิณเพียตกัมพูชาth
dc.typeDissertationen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Fine Arts

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs591120023.pdf23.48 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.