Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1319
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorORAYA JAMJAIen
dc.contributorอรยา แจ่มใจth
dc.contributor.advisorPanida Sakuntanaken
dc.contributor.advisorพนิดา ศกุนตนาคth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot University. Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2021-09-08T12:09:36Z-
dc.date.available2021-09-08T12:09:36Z-
dc.date.issued16/8/2021
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1319-
dc.descriptionDOCTOR OF PHILOSOPHY (Ph.D.)en
dc.descriptionปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.abstractThe purposes of this study are as follows: (1) to analyze the theoretical conclusions from the study of the creative transmission process from local wisdom in Bangkok; (2) to develop a learning process based on STEAM Education integrated with theoretical conclusions derived from a study of the creative transmission process, with local wisdom enhancing the scientific creativity of seventh graders; (3) to examine the scientific creativity of students, derived from a learning process based on STEAM Education and integrated with local wisdom and the 5E of Inquiry-Based Learning, with the adjusted influence of the achievement motive. The sample consisted of 72 seventh grade students from Kasetsart University Laboratory School, Bang Khen, Bangkok, in the 2020 Academic Year, There were 36 students each in the experimental and control groups, selected using cluster random sampling. This study used Mixed Methods. The instruments were a scientific creativity assessment, observant achievement motive assessment, and worksheets, analyzed using Descriptive Statistics and Multivariate Analysis of Covariance (MANCOVA). It was found that: (1)The  conditions for local wisdom were customer interest, product qualities, conserving local wisdom, marketing strategies, product development; the process of creative transfer consisted of planning and design, working process, public relations, distribution, development and adjustment; and to maintain local wisdom inheritors,  and community cooperation were required; (2) learning processes based on STEAM Education and local wisdom had six procedures: 1) Focus; 2) Detail; 3) Discovery; 4) Application; 5) Presentation; 6) Evaluation. The result of the learning process appropriateness evaluation indicated it was at the highest appropriateness level with a mean of 4.51; (3) The learning processes based on STEAM Education and local wisdom. The 5E of Inquiry-Based Learning adjusted the achievement motive; 3.1) the point average of scientific creativity from students after learning with STEAM Education and local wisdom overall and in individual aspects were significantly higher at a .05 than before participating; (3.2) the point average of scientific creativity both overall and individual aspects were significantly higher at a level of .05 than the 5Es of Inquiry-Based Learning; (3.3) the results of the study on the process of scientific creativity found that a learning process based on STEAM Education and local wisdom increased scientific creativityen
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ (1) วิเคราะห์ข้อสรุปเชิงทฤษฎีจากการศึกษาปรากฏการณ์การถ่ายทอดความคิดสร้างสรรค์จากภูมิปัญญาท้องถิ่น ในเขตกรุงเทพมหานคร (2) พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะตีมศึกษาบูรณาการกับข้อสรุปเชิงทฤษฎีที่ได้จากการศึกษาปรากฏการณ์การถ่ายทอดความคิดสร้างสรรค์จากภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 (3) ศึกษาความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะตีมศึกษาบูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่น กับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E เมื่อปรับแยกอิทธิพลของแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร ปีการศึกษา 2563 จำนวน 72 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 36 คน และกลุ่มควบคุม 36 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม โดยใช้การวิจัยแบบผสมผสานวิธีการ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลได้แก่ แบบวัดความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ แบบวัดแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ แบบสังเกต และใบกิจกรรม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยายและการวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วมพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า (1.1) เงื่อนไขในการดำรงอยู่ของภูมิปัญญาท้องถิ่น ประกอบด้วย ความสนใจของผู้บริโภค คุณภาพของผลิตภัณฑ์ ความต้องการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น กลยุทธ์ทางการตลาด และการพัฒนาต่อยอดผลิตภัณฑ์ (1.2) กระบวนการถ่ายทอดความคิดสร้างสรรค์จากภูมิปัญญาท้องถิ่น ประกอบด้วย การวางแผนและออกแบบ การลงมือปฏิบัติ การประชาสัมพันธ์และจัดจำหน่าย และการพัฒนาและปรับปรุง (1.3) การสืบทอดให้ดำรงอยู่ของภูมิปัญญาท้องถิ่น ประกอบด้วย ผู้สืบทอด การสนับสนุนจากหน่วยงานหรือรัฐบาล และความร่วมมือของชุมชน (2) การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะตีมศึกษาบูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่น มีกระบวนการจัดการเรียนรู้ 6 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นระบุสถานการณ์ 2) ขั้นวิเคราะห์สถานการณ์ 3) ขั้นการค้นคว้า 4) ขั้นประยุกต์ 5) ขั้นการนำเสนอ 6) ขั้นประเมินและปรับปรุง ผลการประเมินความเหมาะสมของรูปแบบการจัดการเรียนรู้พบว่า ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.51 (3) ผลการศึกษาความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะตีมศึกษาบูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่น กับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E เมื่อปรับแยกอิทธิพลของแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์พบว่า 3.1) คะแนนเฉลี่ยความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์หลังเรียนทั้งในภาพรวมและรายด้านของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะตีมศึกษาบูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่น สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3.2) คะแนนเฉลี่ยความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์หลังเรียนทั้งในภาพรวมและรายด้านของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะตีมศึกษาบูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่น สูงกว่านักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3.3) ผลการศึกษากระบวนการเปลี่ยนแปลงความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์พบว่า นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะตีมศึกษาบูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่นมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่แสดงออกถึงการมีความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ที่เพิ่มขึ้นth
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectสะตีมศึกษาth
dc.subjectภูมิปัญญาท้องถิ่นth
dc.subjectความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์th
dc.subjectSTEAM Educationen
dc.subjectlocal wisdomen
dc.subjectScientific Creativityen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleA STUDY OF CREATIVITY TRANSMISSION PROCESS FROM LOCAL WISDOM TO DEVELOP LEARNING MANAGEMENT MODEL BASED ON STEAM EDUCATION TO ENHANCE SCIENTIFIC CREATIVITY OF GRADE 7 STUDENTSen
dc.titleการศึกษากระบวนการถ่ายทอดความคิดสร้างสรรค์จากภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อพัฒนารูปแบบ การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะตีมศึกษาในการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1th
dc.typeDissertationen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs601150032.pdf4.1 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.