Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1264
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorONANONK NASOKEen
dc.contributorอรอนงค์ นาโสกth
dc.contributor.advisorSathin Prachanbanen
dc.contributor.advisorสาธิน ประจันบานth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot University. Faculty of Physical Educationen
dc.date.accessioned2021-09-08T11:49:36Z-
dc.date.available2021-09-08T11:49:36Z-
dc.date.issued16/8/2021
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1264-
dc.descriptionMASTER OF EDUCATION (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThis research aimed at studying the effect of Ballroom dance and Latin-American dance on health-related physical fitness of students grade 12 at Watsothornwararam Worawihan School. The participants were 32 students. Purposive sampling was employed in this study to divide students into two separated groups. The first group of students practices Ballroom dance while the second group practices Latin American dance. The experiment lasted 8 weeks. Participants had to practice for 40 minutes 3 times a week. Flexibility test, muscle strength test, and cardiorespiratory endurance test were employed before the experiment, and after the 4th and 8th week. The data were statistically analyzed, using a one-way repeated measure ANOVA, and a two-way repeated measure ANOVA at a statistically significant level of 0.05. The results of the study indicated that. After comparing the test results of both groups after the 4th and 8th week of experiment, the result obtained shows that their flexibility, muscle strength, and cardiorespiratory improved at a statistically significant level of 0.05. The effect of Ballroom dancing practice and Latin American dancing practice yielded no difference in participants’flexibility, muscle strength, and cardiorespiratory.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการเต้นลีลาศประเภทบอลรูมกับประเภทละตินอเมริกันที่มีต่อสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดโสธรวรารามวรวิหาร อาสาสมัครเข้าร่วมในการวิจัยครั้งนี้ จำนวน 32 คน แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ๆ ละ 16 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง กลุ่มที่ 1 กลุ่มฝึกเต้นลีลาศประเภทบอลรูม กลุ่มที่ 2 กลุ่มฝึกเต้นลีลาศประเภทละตินอเมริกัน ใช้เวลาในการทดลอง 8 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 3 ครั้ง ๆ ละ 40 นาที ทำการทดสอบด้านความอ่อนตัว ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ และความอดทนของระบบไหลเวียนโลหิต ก่อนการทดลอง และหลังการทดลองสัปดาห์ที่ 4 และสัปดาห์ที่ 8 นำผลที่ได้มาวิเคราะห์ตามวิธีทางสถิติ หาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำ(One – way Repeated ANOVA) วิเคราะห์ความแปรปรวนแบบสองทางชนิดวัดซ้ำ (Two – way Repeated ANOVA) ที่ระดับนัยสำคัญที่ .05  ผลการวิจัยพบว่า 1)การเปรียบเทียบการฝึกเต้นลีลาศภายในของแต่ละกลุ่ม ของกลุ่มเต้นลีลาศประเภทบอลรูม และกลุ่มเต้นลีลาศประเภทละตินอเมริกันที่มีต่อสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ ก่อนการทดลอง หลังการทดลอง 4 สัปดาห์และ 8 สัปดาห์ พบว่าสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ ด้านความอ่อนตัว ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ และความอดทนของระบบไหลเวียนโลหิต ดีขึ้นอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 2)การเปรียบเทียบการฝึกเต้นลีลาศระหว่างกลุ่มเต้นลีลาศประเภทบอลรูมกับประเภทละตินอเมริกันที่มีต่อสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ พบว่าสมรรภถาพทางกายเพื่อสุขภาพ ด้านความอ่อนตัว ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ และความอดทนของระบบไหลเวียนโลหิต ของทั้งสองกลุ่มไม่แตกต่างกัน    th
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพth
dc.subjectลีลาศประเภทบอลรูมth
dc.subjectลีลาศประเภทละตินอเมริกันth
dc.subjectHealth-Related Physicals fitnessen
dc.subjectBallroom danceen
dc.subjectLatin-American danceen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleA COMPARISON OF THE EFFECT OF BALLROOM DANCE AND LATIN AMERICAN DANCE ON HEALTH-RELATED PHYSICAL FITNESS OF STUDENTS GRADE 12 WATSOTHORNWARARAM  WORAWIHAN SCHOOLen
dc.titleการเปรียบเทียบผลของการเต้นลีลาศประเภทบอลรูมกับประเภทละตินอเมริกันที่มีต่อสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดโสธรวรารามวรวิหารth
dc.typeThesisen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Physical Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs601130314.pdf2.66 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.