Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1225
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPAKANAT RATTANABANGRUAYen
dc.contributorภคณัฐ รัตนบ้านกรวยth
dc.contributor.advisorSupat Sanjamsaien
dc.contributor.advisorสุพัทธ แสนแจ่มใสth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot University. Faculty of Humanitiesen
dc.date.accessioned2021-09-08T11:41:08Z-
dc.date.available2021-09-08T11:41:08Z-
dc.date.issued16/8/2021
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1225-
dc.descriptionMASTER OF ARTS (M.A.)en
dc.descriptionศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.)th
dc.description.abstractThis qualitative research aims to study the experience factors and guidelines for adjustment on depression in early adulthood in Bangkok. The purposive sampling technique was used in this study and included in-depth interviews for data collection. The results of this study revealed that the approach of adjustment on depression in early adulthood, which has individual multiplicity, as follows: the internal factors include the following: (1) to encourage yourself or to adjust to a new and logical concept; (2) thinking about the factors or activities to relax before depression, such as exercise; (3) setting your goals; (4) following the idealism of existence, and the external factors included the following: (1) support from close people; (2) hanging out or engaging in deviant activities; (3) consulting a specialist; (4) pet therapy; and (5) naturopathy. This has a direct relationship with the forms of experience on depression. In the context of current social conditions, the findings of the study may help non-adaptive subjects to reduce these negative symptoms and help to make better adjustment, according to the functions of human beings and the ideal of infinite development.en
dc.description.abstractการวิจัยเชิงคุณภาพครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและทำความเข้าใจเกี่ยวกับประสบการณ์ต่อแนวทางและรูปแบบการปรับตัวบนภาวะซึมเศร้าในผู้ใหญ่ตอนต้น จากกลุ่มตัวอย่างที่มีความเฉพาะเจาะจง โดยใช้การสัมภาษณ์เชิงลึกเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล ผลการวิจัยพบว่า แนวทางและรูปแบบการปรับตัวของผู้ใหญ่ตอนต้นที่มีภาวะซึมเศร้า ประกอบไปด้วยรายละเอียดอันหลากหลายและเป็นปัจเจกร่วมกัน โดยผู้วิจัยได้แบ่งออกเป็น ปัจจัยภายใน จำนวน 4 ข้อ ได้แก่ 1.ให้กำลังใจตนเอง  หรือปรับแนวคิดใหม่เชิงตรรกะ 2.นึกถึงปัจจัยหรือกิจผ่อนคลายของตนเองในช่วงก่อนมีภาวะ 3.การตระหนักถึงความตั้งใจของตนเอง การตั้งเป้าหมายและการสำรวจตนเอง 4.การกระทำตามอุดมคติอันสูงสุด และปัจจัยภายนอก จำนวน 5 ข้อ ได้แก่ 1.การมีคนใกล้ชิดคอยสนับสนุน 2.การออกไปเที่ยว หรือสร้างกิจกรรมเบี่ยงเบน 3.การพบผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง 4.สัตว์เลี้ยงบำบัด 5.การใช้ธรรมชาติบำบัด ที่มีความสัมพันธ์กันกับประสบการณ์ทางภาวะซึมเศร้าของตัวบุคคลโดยตรง จากประเด็นเหล่านี้สามารถนำไปต่อยอดเพื่อเป็นองค์ความรู้และแนวทางในการปรับตัวต่อสภาวะเชิงลบเบื้องต้นในยุคสมัยปัจจุบัน รวมไปถึงการศึกษากลุ่มตัวอย่างที่ไม่สามารถปรับตัวได้ ซึ่งมีลักษณะที่แตกต่างหรือตรงกันข้าม เพื่อนำมาพัฒนาสังคมอย่างสมดุล ตามหน้าที่ของการเป็นมนุษย์และอุดมคติแห่งการพัฒนาที่ไม่มีวันสิ้นสุดth
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectภาวะซึมเศร้าth
dc.subjectช่วงวัยผู้ใหญ่ตอนต้นth
dc.subjectประสบการณ์ต่อการปรับตัวบนภาวะซึมเศร้าth
dc.subjectDepressionen
dc.subjectEarly Adulthooden
dc.subjectExperience of Adjustment on Depressionen
dc.subject.classificationPsychologyen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleEXPERIENCE OF ADJUSTMENTON DEPRESSION IN EARLY ADULTHOODen
dc.titleการศึกษาประสบการณ์ต่อการปรับตัวบนภาวะซึมเศร้าในช่วงวัยผู้ใหญ่ตอนต้นth
dc.typeThesisen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Humanities

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs621110138.pdf2.14 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.