Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1181
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPIMTHEERA PIBULTIPen
dc.contributorพิมพ์ธีรา พิบูลทิพย์th
dc.contributor.advisorChinalai Piyachonen
dc.contributor.advisorชินาลัย ปิยะชนth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot University. Faculty of Dentistryen
dc.date.accessioned2021-07-09T09:42:50Z-
dc.date.available2021-07-09T09:42:50Z-
dc.date.issued14/5/2021
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1181-
dc.descriptionMASTER OF SCIENCE (M.Sc.)en
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)th
dc.description.abstractThe aim of this study was to compare the efficacy of XP-endo finisher, passive ultrasonic irrigation and conventional syringe and needle irrigation for removing three types of calcium hydroxide (CH) from root canals. The study used 90 human mandibular premolar teeth with single and straight root canals, which were decoronated and enlarged root canals using Protaper Next instruments up to size 30/.07. The roots were split longitudinally and the root halves were reassembled with sticky wax. The specimens were randomly divided into three groups according to type of CH medication (n=30): group A, CH powder mixed with distilled water; group B, UltraCal™XS; group C, Vitapex®. After seven days, the roots were divides into three subgroups according to the removal techniques (n=10): XP-endo finisher, passive ultrasonic irrigation and conventional syringe and needle irrigation. The activation consisted of four cycles of 30 seconds with 3 mL of 2.5% sodium hypochlorite. The photographs of root canals were taken under light stereomicroscope at 20x magnification. The percentage of calcium hydroxide coated the surface area in relation to the surface area was calculated. The data was analyzed with two-way ANOVA and a post-hoc Scheffe test. The results showed that the percent area of residual CH of CH powder mixed with distilled water group and UltraCal™XS group had no statistically significant differences when used XP-endo finisher and passive ultrasonic irrigation, but significantly less than conventional needle irrigation. In contrast, the Vitapex® group showed significantly less residual CH when using passive ultrasonic irrigation. In conclusion, different irrigation protocols and CH types affected the residual CH in root canal. XP-endo finisher and passive ultrasonic irrigation were more effective in the removal of CH than conventional needle irrigation. Vitapex® exhibited the most difficulty to remove from root canals.en
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการกำจัดแคลเซียมไฮดรอกไซด์สามชนิดในคลองรากฟันเมื่อใช้ไฟล์นิกเกิลไทเทเนียมแบบหมุนด้วยเครื่องระบบเอ็กซ์พีเอนโดฟินิชเชอร์ การล้างคลองรากฟันด้วยระบบอัลตราโซนิกแบบไร้แรง และการล้างด้วยเข็มล้าง ทำการศึกษาในฟันกรามน้อยล่างรากเดียว ที่มีรากตรง จำนวน 90 ซี่ กรอตัดส่วนตัวฟัน ขยายคลองรากฟันด้วยไฟล์นิกเกิลไทเทเนียมแบบหมุนด้วยเครื่องระบบโพรเทเปอร์เน็กซ์ถึงขนาด 30/.07 กรอแบ่งครึ่งรากฟันในแนวยาวและประกอบเข้าด้วยกันยึดด้วยขี้ผึ้ง แบ่งฟันแบบสุ่มเป็น 3 กลุ่ม ใส่ยาในคลองรากฟันด้วยแคลเซียมไฮดรอกไซด์ชนิดผงผสมกับน้ำกลั่น แคลเซียม ไฮดรอกไซด์ผสมสำเร็จชนิดอัลตราแคลเอกซ์เอส และไวตาเพ็กซ์ กลุ่มละ 30 ซี่ เก็บไว้เป็นเวลา 7 วัน จากนั้นนำแต่ละกลุ่มมาแบ่งย่อยแบบสุ่มเป็น 3 กลุ่ม ล้างคลองรากฟันด้วยการใช้ไฟล์เอ็กซ์พีเอนโดฟินิชเชอร์ ระบบอัลตราโซนิกแบบไร้แรง และเข็มล้าง กลุ่มละ 10 ซี่  โดยกระตุ้นเครื่องมือครั้งละ 30 วินาที ร่วมกับโซเดียมไฮโปคลอไรต์ ความเข้มข้นร้อยละ 2.5 จำนวน 3 มิลลิลิตร ทำซ้ำทั้งหมด 4 รอบ ประเมินปริมาณแคลเซียมไฮดรอกไซด์ที่เหลือบนผนังคลองรากฟันด้วยภาพถ่ายจากกล้องจุลทรรศน์ใช้แสงสเตอริโอที่กำลังขยาย 20 เท่า คำนวณร้อยละพื้นที่ของแคลเซียมไฮดรอกไซด์ที่เหลือบนผนังคลองรากฟัน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบสองทาง ทำการทดสอบรายคู่โดยใช้การทดสอบแชฟเฟ ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มแคลเซียมไฮดรอกไซด์ชนิดผงผสมน้ำกลั่นและอัลตราแคลเอกซ์เอส เมื่อล้างคลองรากฟันด้วยไฟล์เอ็กซ์พีเอนโด ฟินิชเชอร์และระบบอัลตราโซนิกแบบไร้แรงเหลือปริมาณแคลเซียมไฮดรอกไซด์ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ โดยเหลือปริมาณน้อยกว่ากลุ่มที่ล้างคลองรากฟันด้วยเข็มล้างปกติอย่างมีนัยสำคัญ กลุ่มไวตาเพ็กซ์พบว่าการล้างคลองรากฟันด้วยระบบอัลตราโซนิกแบบไร้แรงเหลือปริมาณแคลเซียมไฮดรอกไซด์น้อยกว่าการล้างวิธีอื่นอย่างมีนัยสำคัญ การศึกษานี้สรุปได้ว่า วิธีการล้างคลองรากฟันและชนิดของแคลเซียมไฮดรอกไซด์ที่ต่างกันส่งผลต่อปริมาณแคลเซียมไฮดรอกไซด์ที่เหลือภายในคลองรากฟัน โดยการล้างคลองรากฟันด้วยระบบอัลตราโซนิกแบบไร้แรงและไฟล์เอ็กซ์พีเอนโดฟินิชเชอร์สามารถกำจัดแคลเซียมไฮดรอกไซด์ได้มีประสิทธิภาพดีกว่าเข็มล้างปกติ และแคลเซียมไฮดรอกไซด์กลุ่มไวตาเพ็กซ์ถูกกำจัดออกจากคลองรากฟันได้ยากที่สุดth
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectแคลเซียมไฮดรอกไซด์th
dc.subjectระบบอัลตราโซนิกแบบไร้แรงth
dc.subjectเอ็กซ์พีเอ็นโดฟินิชเชอร์th
dc.subjectCalcium hydroxideen
dc.subjectPassive ultrasonic irrigationen
dc.subjectXP-endo finisheren
dc.subject.classificationDentistryen
dc.titleEFFICACY OF THREE IRRIGATION PROTOCOLS FOR REMOVING THREE TYPESOF CALCIUM HYDROXIDE FROM ROOT CANALS en
dc.titleประสิทธิภาพของการล้างคลองรากฟัน 3 วิธีการ ในการกำจัดแคลเซียมไฮดรอกไซด์ 3 ชนิดออกจากคลองรากฟันth
dc.typeThesisen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Dentistry

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs611110062.pdf2.69 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.