Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1166
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNIPAPORN PANNAMen
dc.contributorนิภาภรณ์ พันธ์นามth
dc.contributor.advisorWaraporn Viyanonen
dc.contributor.advisorวราภรณ์ วิยานนท์th
dc.contributor.otherSrinakharinwirot University. Faculty of Scienceen
dc.date.accessioned2021-07-09T09:24:18Z-
dc.date.available2021-07-09T09:24:18Z-
dc.date.issued14/5/2021
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1166-
dc.descriptionMASTER OF SCIENCE (M.Sc.)en
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)th
dc.description.abstractThe increasing in both sales and products offered to meet the needs of consumers is a channel that increases income for entrepreneurs and increases product satisfaction among consumers. The objective of this research is to develop a food recommendation model to assist making product recommendations using Content-Based Filtering techniques, which uses the principle of Cosine Similarity and Collaborative Filtering, using Surprise libraries to build a model using algorithms such as SVD, NMF, Baseline and KNN. The evaluation of model accuracy was performed by comparing RMSE and MAE values. The results showed that the SVD algorithm obtained the lowest RMSE and MAE values of 1.2528 and 0.9376, respectively. Then, another model was built that combines the techniques, Content-Based Filtering and Collaborative Filtering which takes the advantages of both techniques to more suitable product recommendations.en
dc.description.abstractการเพิ่มยอดขายและนำเสนอสินค้าให้ตรงตามความต้องการของผู้บริโภคเป็นช่องทางที่ทำให้เพิ่มรายได้ให้กับผู้ประกอบการและเพิ่มความพึงพอใจให้กับผู้บริโภคที่มีต่อสินค้ามากยิ่งขึ้น วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้คือการพัฒนาแบบจำลองการแนะนำสินค้าอาหารมาช่วยในการแนะนำสินค้า โดยใช้เทคนิคการกรองแบบอิงเนื้อหา (Content-Based Filtering) ซึ่งใช้หลักการ ความคล้ายคลึงแบบโคไซน์ และเทคนิคการกรองข้อมูลแบบพึ่งพาผู้ใช้ร่วม (Collaborative Filtering)  โดยนำไลบรารีของ Surprise มาสร้างแบบจำลองโดยใช้อัลกอริทึม ได้แก่ SVD, NMF, Baseline และ KNN  การประเมินผลความแม่นยำของแบบจำลองนั้นดำเนินการโดยเปรียบเทียบค่า RMSE และ MAE ผลการทดลองพบว่าค่า RMSE และ MAE ที่มีค่าต่ำสุดและให้ผลลัพธ์ที่ดีที่สุดคืออัลกอริทึม SVD ที่ได้ค่า RMSE เท่ากับ 1.2528 และ MAE เท่ากับ 0.9376  ในส่วนของการทำงานแบบผสมผสานได้นำเทคนิคการกรองแบบอิงเนื้อหา และ เทคนิคการกรองข้อมูลแบบพึ่งพาผู้ใช้ร่วมมาทำงานร่วมกัน ซึ่งใช้ข้อดีของทั้ง 2 เทคนิคนั่นคือนำแบบจำลองของเทคนิคการกรองแบบอิงเนื้อหา ที่มีการทำความคล้ายคลึงขอโคไซน์และแบบจำลองของเทคนิคการกรองข้อมูลแบบพึ่งพาผู้ใช้ร่วมที่ใช้อัลกอริทึม SVD มาทำงานร่วมกันทำเกิดการแนะนำรายการสินค้าที่เหมาะสม  th
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectระบบแนะนำ, การกรองแบบอิงเนื้อหา, การกรองข้อมูลแบบพึ่งพาผู้ใช้ร่วม, ระแบบแนะนำแบบผสมผสานth
dc.subjectRecommendation Systemen
dc.subjectContent-Based Filteringen
dc.subjectCollaborative Filteringen
dc.subjectHybrid Recommendation Systemen
dc.subject.classificationComputer Scienceen
dc.titleFOOD RECOMMENDATION SYSTEM USING A HYBRID RECOMMENDATION METHODen
dc.titleระบบแนะนำสินค้าอาหารโดยใช้ระบบแนะนำแบบผสมผสานth
dc.typeMaster’s Projecten
dc.typeสารนิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs621130235.pdf3.38 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.