Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1157
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | RATTIYAKORN SALEEPALIN | en |
dc.contributor | รัตติยากร สาลีผลิน | th |
dc.contributor.advisor | Sasipimol Prapinpongsakorn | en |
dc.contributor.advisor | ศศิพิมล ประพินพงศกร | th |
dc.contributor.other | Srinakharinwirot University. Faculty of Humanities | en |
dc.date.accessioned | 2021-07-09T09:16:10Z | - |
dc.date.available | 2021-07-09T09:16:10Z | - |
dc.date.issued | 16/7/2021 | |
dc.identifier.uri | http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1157 | - |
dc.description | MASTER OF ARTS (M.A.) | en |
dc.description | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.) | th |
dc.description.abstract | This research aims to study the conditions of using social media in public university libraries and strategies for using social media at public university libraries by using qualitative research methods. The main informants were 14 library personnel who were responsible for using social media from 14 libraries by selected from a specific selection based on the specified criteria. The research tool was a semi-structured interview. The research found that social media usage conditions were used to introduce library services and information resources, including public relations communication inside and outside the library. However, facebook was chosen as the main platform for sharing information with others. The average frequency of posting on facebook was 1-3 times a day, including both during work hours and after work hours. The posting formats are various such as infographics, videos and pictures. The strategy for using social media consisted of six processes: (1) Policy that is not a writing policy, concerning the guideline and agreement of library social media usage; (2) the definitions of the objectives and goals as a standard way of work for staff, including communication and building a good relationship with users; (3) the definition of the target group mainly focused on students, teachers and university staff; (4) the definition of social media was the responsibility of the personnel and most were defined as a team with clearly divided duties and training support; (5) operational aspects, consisting of library activity content postings in both formal and informal language. Most of these processes frequently answered users in real-time by using interesting content construction, such as social media caption of social trends; and (6) an evaluation consisting of various methods, such as facebook page insight, survey and the monitoring of responses to trends through hashtags. This can lead to the improvement and development of library services and staff who are responsible for social media to be more efficient. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพการใช้สื่อสังคมออนไลน์ของห้องสมุดและการดำเนินงานด้านกลยุทธ์ที่นำมาใช้กับสื่อสังคมออนไลน์ในห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้ให้ข้อมูลหลัก ได้แก่ บุคลากรห้องสมุดผู้รับผิดชอบการใช้สื่อสังคมออนไลน์ของห้องสมุด จำนวน 14 คน จากห้องสมุด 14 แห่ง โดยใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจงตามเกณฑ์ที่กำหนด เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง ผลการวิจัยเกี่ยวกับสภาพการใช้สื่อสังคมออนไลน์ของห้องสมุด พบว่า ห้องสมุดมีวัตถุประสงค์ในการใช้สื่อสังคมออนไลน์เพื่อแนะนำบริการและทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุด เพื่อการประชาสัมพันธ์และติดต่อสื่อสารกับผู้ใช้ รวมถึงประสานงานกับบุคลากรทั้งภายในและภายนอกห้องสมุด โดยมีการใช้สื่อสังคมออนไลน์หลายแพลตฟอร์มแต่จะใช้เฟซบุ๊กเป็นแพลตฟอร์มหลักที่แบ่งปันไปยังแพลตฟอร์ม อื่น ๆ ความถี่ในการโพตส์เฉลี่ยวันละ 1-3 ครั้ง ทั้งในเวลางานและนอกเวลางาน รูปแบบที่โพสต์มีความหลากหลาย เช่น อินโฟกราฟิก วีดิทัศน์ รูปภาพ เป็นต้น ส่วนการดำเนินงานด้านกลยุทธ์ที่นำมาใช้กับสื่อสังคมออนไลน์ในห้องสมุด พบว่า 1) ด้านการกำหนดนโยบาย ห้องสมุดมีเพียงแนวปฏิบัติหรือข้อตกลงร่วมกันในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ของห้องสมุดแต่ยังไม่มีนโยบายเป็นลายลักษณ์อักษร 2) ด้านการกำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมาย มีการกำหนดวัตถุประสงค์เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานร่วมกันของบุคลากร รวมทั้งการติดต่อสื่อสารและสร้างความสัมพันธ์อันดีกับผู้ใช้ โดยมีเป้าหมายให้ผู้ใช้รับรู้เกี่ยวกับการบริการของห้องสมุดและเป็นที่รู้จักมากขึ้น 3) ด้านการกำหนดกลุ่มเป้าหมาย มีการกำหนดและวิเคราะห์กลุ่มเป้าหมายโดยมุ่งเน้นที่นิสิต/นักศึกษา อาจารย์ และบุคลากรภายในสถาบันอุดมศึกษาเป็นหลัก 4) ด้านการกำหนดผู้รับผิดชอบสื่อสังคมออนไลน์ มีการกำหนดผู้รับผิดชอบและขอบข่ายงานโดยตรง และหน่วยงานสนับสนุนให้บุคลากรพัฒนาทักษะและความชำนาญในงานที่เกี่ยวข้อง 5) ด้านการดำเนินงาน มีการกำหนดขอบเขตด้านเนื้อหาที่เกี่ยวกับกิจกรรมของห้องสมุด ภาษาที่ใช้มีทั้งทางการและกึ่งทางการ และโดยมากตอบคำถามผู้ใช้แบบเรียลไทม์ ใช้เทคนิคในการสร้างเนื้อหาที่น่าสนใจ เช่น การโพสต์คำบรรยายตามกระแสของสังคม เป็นต้น และ 6) ด้านการประเมินผล มีการประเมินผลหลากหลายวิธี เช่น การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกของเฟซบุ๊กแฟนเพจ การใช้แบบสอบถาม การติดตามกระแสตอบรับผ่านแฮชแท็ก เป็นต้น เพื่อนำไปปรับปรุงและพัฒนาบริการของห้องสมุดและการทำงานของบุคลากรที่รับผิดชอบสื่อสังคมออนไลน์ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Srinakharinwirot University | |
dc.rights | Srinakharinwirot University | |
dc.subject | กลยุทธ์สื่อสังคมออนไลน์ | th |
dc.subject | สื่อสังคมออนไลน์ | th |
dc.subject | ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา | th |
dc.subject | Social Media Strategy | en |
dc.subject | Social Media | en |
dc.subject | University Library | en |
dc.subject.classification | Arts and Humanities | en |
dc.title | THE OPERATION OF STRATEGIES ADOPTION ON SOCIAL MEDIA USE OF PUBLIC UNIVERSITY LIBRARIES | en |
dc.title | การดำเนินงานด้านกลยุทธ์ที่นำมาใช้กับสื่อสังคมออนไลน์ในห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | ปริญญานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | Faculty of Humanities |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
gs602130017.pdf | 4.41 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.