Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1119
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPADNAREE LEEWIWATTANACHOTen
dc.contributorพัฒน์ณรี ลีวิวัฒนโชตth
dc.contributor.advisorNuttika Soontorntanapholen
dc.contributor.advisorนัฏฐิกา สุนทรธนผลth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot University. Faculty of Fine Artsen
dc.date.accessioned2021-06-16T06:11:07Z-
dc.date.available2021-06-16T06:11:07Z-
dc.date.issued14/5/2021
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1119-
dc.descriptionMASTER OF EDUCATION (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThis research aims to study the recorder flute practice achievement of Grade Six students at Watthongsamrit School through a pre-test and a post-test using a multimedia teaching package for the recorder flute and to study their satisfaction of using the multimedia teaching package for the recorder flute among the participants. The sample group in this research included 15 primary school students in music class in the first semester of the 2020 academic year and used purposive sampling. This experimental research had a single trial pattern using the one group pre-test and post-test design. The students had a 50-minute class once a week, lasting eight weeks. The instruments included multimedia, lesson plans, a pre-test and a post-test, and a satisfaction assessment form. The statistics used in data analysis were the dependent sample t-test percentage, mean, and standard deviation. The results of this research were as follows: (1) the results of the study recorder flute practice achievement among students in Watthongsamrit School through a pre-test and post-test using a multimedia teaching package for the recorder flute to compare mean and standard deviation. The students who used the multimedia teaching package had a pre-test score of 3.73, SD to 1.907 and achieved a post-test score of 18.40, SD to .986, which differed statistically at a level of .05. This indicates that studying and practice using a multimedia teaching package for the recorder flute had the highest achievement; (2) the results of the study on satisfaction with multimedia teaching package for the recorder flute among the participants and had a mean at 4.71, SD to 0.4. This indicates that the students were satisfied with the teaching package for the recorder flute at the highest level.  en
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติขลุ่ยรีคอร์เดอร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดทองสัมฤทธิ์ก่อนและหลังเรียน โดยใช้ชุดการสอนมัลติมีเดีย เรื่อง รีคอร์เดอร์และศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อชุดการสอนมัลติมีเดีย เรื่อง รีคอร์เดอร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดทองสัมฤทธิ์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้การวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่  6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 15 คน ทีเรียนวิชาดนตรี โดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง(Purposive Sampling) การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง(Experimental Research) โดยมีแบบแผนการทดลองกลุ่มเดียว วัดผลก่อนและหลังการทดลอง (The One-Group Pretest-Posttest Design) โดยใช้ระยะเวลาในการสอน จำนวน 8 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 1 ครั้ง ครั้งละ 50 นาที  เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1.สื่อมัลติมีเดีย และ แผนการสอนโดยการใช้สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง รีคอร์เดอร์ 2.แบบทดสอบก่อน/หลังเรียนโดยการใช้สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง รีคอร์เดอร์ 3.แบบประเมินความพึงพอใจในการใช้สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง รีคอร์เดอร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ 1.สถิติทดสอบสมมติฐาน หาค่า T-Test แบบ Dependent Sample 2.ค่าร้อยละ (Percentage) 3.คะแนนเฉลี่ย (Mean) 4.ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติขลุ่ยรีคอร์เดอร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดทองสัมฤทธิ์ก่อนและหลังเรียน โดยใช้ชุดการสอนมัลติมีเดีย เรื่อง รีคอร์เดอร์ เปรียบเทียบค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของผลทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน พบว่า ประชากรที่ศึกษาที่เรียนการปฏิบัติขลุ่ยรีคอร์เดอร์โดยใช้ชุดการสอนมัลติมีเดีย เรื่อง รีคอร์เดอร์ มีผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติขลุ่ยรีคอร์เดอร์ก่อนเรียน ( = 3.73, S.D = 1.907) และหลังเรียน (= 18.40, S.D = .986) ซึ่งแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แสดงว่า เรียนการปฏิบัติขลุ่ยรีคอร์เดอร์โดยใช้ชุดการสอนมัลติมีเดีย เรื่อง รีคอร์เดอร์ ทำให้มีผลสัมฤทธิ์ด้านการปฏิบัติขลุ่ยรีคอร์เดอร์สูงขึ้น 2. ผลการศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อชุดการสอนมัลติมีเดีย เรื่อง รีคอร์เดอร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดทองสัมฤทธิ์ ได้ค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.71 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน S.D. เท่ากับ 0.4 โดยรวมนักเรียนมีความพึงพอใจต่อชุดการสอนมัลติมีเดีย เรื่อง รีคอร์เดอร์ อยู่ในระดับมากที่สุดth
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectขลุ่ยรีคอร์เดอร์th
dc.subjectการศึกษาความพึงพอใจth
dc.subjectชุดการสอนมัลติมีเดียth
dc.subjectผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติขลุ่ยรีคอร์เดอร์th
dc.subjectโรงเรียนวัดทองสัมฤทธิ์th
dc.subjectRecorder flute achievementen
dc.subjectMultimedia teaching packageen
dc.subjectSatisfaction resultsen
dc.subjectWatthongsamrit Schoolen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleTHE STUDY OF PRACTICING RECORDER ACHIEVEMENTBY USING MULTIMEDIA " RECORDER" OF PRIMARY 6 STUDENTSAT WATTHONGSAMRIT SCHOOLen
dc.titleการศึกษาผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติขลุ่ยรีคอร์เดอร์โดยใช้ชุดการสอนมัลติมีเดียเรื่อง รีคอร์เดอร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดทองสัมฤทธิ์th
dc.typeThesisen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Fine Arts

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs611130173.pdf7.56 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.