Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1078
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPRADTANA JANKRAJANGen
dc.contributorปรารถนา จันทร์กระจ่างth
dc.contributor.advisorNalena Praphairaksiten
dc.contributor.advisorนลินา ประไพรักษ์สิทธิ์th
dc.contributor.otherSrinakharinwirot University. Faculty of Scienceen
dc.date.accessioned2021-06-14T08:49:52Z-
dc.date.available2021-06-14T08:49:52Z-
dc.date.issued30/8/2020
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1078-
dc.descriptionMASTER OF EDUCATION (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThis research aimed to evaluate the anesthetic efficacy of rosewood essential oil (EO) in juvenile Nile Tilapia (3.43±1.06 g). The fish were exposed to different EO concentrations. The optimal concentration was recorded at Stage Three of anesthesia (less than five minutes) and a complete recovery time (less than ten minutes). The results demonstrated that the lowest effective concentration of rosewood essential oil (RD) was 300 μl/L. Additionally, different formulas of rosewood EO film (RDF) was developed for the short-term transportation of the fish. The results revealed that there were no significant differences between the water solubility of each film formula (p<0.05). However, the ratio of 1:1:1 (alginate: rosewood EO: tween 80) film, at a concentration of 1 g/L was the optimal ratio for the fish to remain in Stage One of anesthesia for two hours. No mortality was observed during and after 24 hours of transportation. The water parameters showed no significant differences (p<0.05) before and after applying RDF. Moreover, histopathological examination exhibited that being exposed to rosewood EO can subtly damage gill tissue. Therefore, RDF is likely to be an effective and alternative anesthetic agent (MS-222) for the transportation of short-term juvenile Nile tilapia, due to its low toxicity for the fish and environmentally friendly.en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อประเมินระดับความเข้มข้นที่เหมาะสมของน้ำมันหอมระเหยโรสวูดในการใช้เป็นยาสลบสำหรับลูกปลานิล (3.43±1.06 กรัม) โดยประเมินระดับความเข้มข้นที่ทำให้ลูกปลานิลเข้าสู่การสลบลึกในระยะที่ 3 ภายในเวลา 5 นาที และฟื้นจากการสลบภายในเวลา 10 นาที ผลการทดลองพบว่า น้ำมันหอมระเหยโรสวูดที่ความเข้มข้น 300 ไมโครลิตรต่อลิตร เป็นความเข้มข้นที่ต่ำที่สุดที่เหมาะสมสำหรับการทำสลบลูกปลานิล นอกจากนี้ ผลการประเมินประสิทธิภาพของแผ่นฟิล์มยาสลบน้ำมันหอมระเหยโรสวูดเพื่อใช้เป็นยาสลบสำหรับการขนส่งลูกปลานิล พบว่า แผ่นฟิล์มทุกสูตรมีความสามารถในการละลายน้ำไม่แตกต่างกันทางสถิติ (p<0.05) โดยผลการประเมินสำหรับการขนส่งระยะสั้น (2 ชั่วโมง) พบว่า แผ่นฟิล์มยาสลบน้ำมันหอมระเหยโรสวูดในอัตราส่วน อัลจิเนต ต่อ น้ำมันหอมระเหยโรสวูด ต่อ ทวีน 80 1 : 1 : 1 ที่ระดับความเข้มข้น 1 กรัมต่อลิตร มีประสิทธิภาพในการชักนำให้ลูกปลานิลเข้าสู่การสลบในระยะที่ 1 ตลอด 2 ชั่วโมง ในทุกการทดลอง ลูกปลานิลมีอัตราการรอดชีวิตร้อยละ 100 ทั้งระหว่างการทดลองและหลังการทดลอง 24 ชั่วโมง ด้านผลการวัดคุณภาพน้ำ พบว่า คุณภาพน้ำก่อนการทดลองและหลังการทดลองการจำลองการขนส่งมีคุณภาพไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) และการตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงพยาธิสภาพ พบการเปลี่ยนแปลงทางพยาธิภาพของเนื้อเยื่อเหงือกหลังได้รับน้ำมันหอมระเหยโรสวูด ดังนั้นจึงสามารถสรุปได้ว่า แผ่นฟิล์มยาสลบน้ำมันหอมระเหยโรสวูดมีประสิทธิภาพในการทำสลบลูกปลานิลสำหรับการขนส่งระยะสั้น และสามารถใช้เป็นยาสลบปลาทางเลือกแทน MS-222 เนื่องจากมีความเป็นพิษต่ำ ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพของปลา และยังเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมth
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectน้ำมันหอมระเหยโรสวูดth
dc.subjectการขนส่งปลาth
dc.subjectปลานิลth
dc.subjectยาสลบth
dc.subjectRosewood essential oilen
dc.subjectFish transporten
dc.subjectNile Tilapiaen
dc.subjectAnesthetic agenten
dc.subject.classificationAgricultural and Biological Sciencesen
dc.titleANESTHETIC INDUCTION OF ROSEWOOD (Aniba rosaeodora) ESSENTIAL OIL FILM FOR TRANSPORTATION OF NILE TILAPIA (Oreochromis niloticus)en
dc.titleการชักนำให้เกิดการสลบโดยแผ่นฟิล์มน้ำมันหอมระเหยจากต้นโรสวูด (Aniba rosaeodora) สำหรับการขนส่งลูกปลานิล (Oreochromis niloticus)th
dc.typeThesisen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs611110097.pdf3.54 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.