Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1042
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPAKKATHORN SIVAPIROMRATen
dc.contributorภัคธร สิวาภิรมย์รัตน์th
dc.contributor.advisorMONTRI UDOMPATAIKULen
dc.contributor.advisorมนตรี อุดมเพทายกุลth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot University. Faculty of Medicineen
dc.date.accessioned2021-03-19T08:40:39Z-
dc.date.available2021-03-19T08:40:39Z-
dc.date.issued30/8/2020
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1042-
dc.descriptionMASTER OF SCIENCE (M.Sc.)en
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)th
dc.description.abstractAtopic dermatitis (AD) is one of the most common chronic skin diseases among children. Such nonsteroidal topical agents, such as Butyrospermum parkii (shea butter) and ceramide were developed to target specific defects in AD patients and reduce the side-effects of topical steroids. The goal of this study was to compare the efficacy of the emollient containing shea butter and ceramide to 1% hydrocortisone in mild to moderate AD patients. This was a randomized study in 26 children, aged 2-18 years, with mild to moderate atopic dermatitis. The patients were randomized in two groups. The first group was treated with shea butter and ceramide cream on the right side of the body and 1% hydrocortisone on the left side, while the other group received the reverse. The clinical outcomes were evaluated by using SCORAD, POEM and IGA. There were other evaluations, including time to remission, time to relapse and adverse events. The results showed a significant improvement of SCORAD, POEM and IGA in both groups after eight weeks of treatment. When comparing the two groups, it was found that SCORAD, POEM and IGA had no significant differences. Regarding the median time to remission and the median time to relapse, there was no statistical difference between these treatments. There were no related adverse events. Therefore, the emollient containing shea butter and ceramide was effective in the treatment and prevention of relapse in mild to moderate atopic dermatitis.en
dc.description.abstractโรคผื่นภูมิแพ้ผิวหนังเป็นโรคผิวหนังที่พบบ่อยที่สุดในเด็ก การรักษานิยมใช้ยาทาสเตียรอยด์ แต่มักมีผลข้างเคียงจากยา ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงเป็นการศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพของ สารให้ความชุ่มชื้นที่มีส่วนประกอบของเชียร์บัตเตอร์และเซราไมด์ กับ ยาทา 1%ไฮโดรคอร์ติโซน ในการรักษาโรคผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง เพื่อให้เป็นตัวเลือกใหม่ในการรักษาและเลี่ยงผลข้างเคียงที่เกิดขึ้นจากยาทาสเตียรอยด์ งานนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลองทางคลินิกแบบสุ่มเลือก ในผู้ป่วยผื่นภูมิแพ้ผิวหนังความรุนแรงน้อยถึงปานกลาง อายุ 2 – 18 ปี จำนวน 26 คน โดยอาสาสมัครจะถูกแบ่งร่างกายเป็น 2 ข้าง จากนั้นทำการสุ่มโดยให้ซีกหนึ่งของร่างกายได้รับครีมที่มีส่วนผสมของเชียบัตเตอร์และเซราไมด์(ครีม A) และอีกข้างหนึ่งได้รับการรักษาด้วยยาทา 1% ไฮโดรคอร์ติโซนครีม(ครีม B)  โดยจะใส่ตัวยาในตลับที่มีลักษณะเหมือนกัน  โดยให้ทาเช้าและก่อนนอน เป็นเวลา 4 สัปดาห์ หลังครบ 4 สัปดาห์ จะให้อาสาสมัครใช้ครีม A ต่อ ส่วนข้างที่ทาด้วยครีม B ให้ทาด้วย ครีมเบสที่เป็นแบบเดียวกับครีม B แทน เป็นเวลาอีก 4 สัปดาห์ ผู้วิจัยมีการประเมินความรุนแรงของโรคโดยดูจากคะแนน SCORAD, POEM และ IGA มีการศึกษาระยะเวลาที่ทำให้โรคสงบ และ ระยะเวลาที่ทำให้โรคกลับมาเป็นซ้ำ รวมถึงวัดความพึงพอใจของอาสาสมัคร ผลการวิเคราะห์ของทั้งสองกลุ่ม พบว่าไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ทั้งค่า SCORAD, POEM และ IGA รวมถึงระยะเวลาที่ทำให้โรคเข้าสู่ระยะสงบและเวลาที่ทำให้โรคกลับมาเป็นซ้ำ อาสาสมัครพึงพอใจมากกับทั้งสองการรัษาและไม่พบผลข้างเคียงในทั้งสองกลุ่ม ได้ผลสรุปว่า ครีมที่มีส่วนประกอบของเชียร์บัตเตอร์และเซราไมด์ มีประสิทธิภาพเทียบเท่ากับ ยาทา 1%ไฮโดรคอร์ติโซน จึงสามารถเป็นอีกหนึ่งทางเลือกในการรักษาผื่นภูมิแพ้ผิวหนังในเด็กได้th
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectโรคผื่นภูมิแพ้ผิวหนังth
dc.subjectเชียร์บัตเตอร์th
dc.subjectเซราไมด์th
dc.subjectไฮโดรคอร์ติโซนth
dc.subjectAtopic dermatitisen
dc.subjectCeramideen
dc.subjectShea butteren
dc.subjectHydrocortisoneen
dc.subject.classificationMedicineen
dc.titleTHE EFFECTIVENESS OF SHEA BUTTER-CERAMIDE CREAM AND TOPICAL 1%HYDROCORTISOE IN ATOPIC DERMATITIS TREATMENTen
dc.titleการศึกษาประสิทธิผลของครีมที่มีส่วนประกอบของเชียบัตเตอร์และเซราไมด์ เปรียบเทียบกับยาทา 1% ไฮโดรคอร์ติโซน ในการรักษาผื่นภูมิแพ้ผิวหนังth
dc.typeThesisen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Medicine

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs601110047.pdf1.4 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.