Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1009
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | NANTACHON RUJICHI | en |
dc.contributor | นันทชนม์ รุจิฉาย | th |
dc.contributor.advisor | Chatchada Chinkulprasert | en |
dc.contributor.advisor | ชัชฎา ชินกุลประเสริฐ | th |
dc.contributor.other | Srinakharinwirot University. Faculty of Health Science | en |
dc.date.accessioned | 2021-03-19T08:36:31Z | - |
dc.date.available | 2021-03-19T08:36:31Z | - |
dc.date.issued | 20/12/2019 | |
dc.identifier.uri | http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1009 | - |
dc.description | MASTER OF SCIENCE (M.Sc.) | en |
dc.description | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) | th |
dc.description.abstract | Chronic lower back pain results in the alteration of proprioceptive sense and muscle control, which may disturb the automatic regulation postural control and gait stability. This is especially true in terms of fastest walking speed, which may aggravate poor postural control and gait instability This study aimed to investigate the effects of chronic lower back pain and walking speed on postural control, gait variability, and temporospatial gait. Twenty people with chronic and non-specific low back pain (CNSLBP) and twenty people with non-low back pain (NLBP) walked at their preferred and fastest walking speed on a treadmill. The temporospatial gait parameters and center of pressure (COP) variables were recorded for three minutes at walking condition and three minutes of rest between walking conditions. The factor of gait variability was used to determine the coefficient of variation (CV) of the temporospatial gait. The results of the current study found that the anterior-posterior (AP) COP excursion and medial-lateral (ML) COP deviation in CNSLBP were significantly greater at both walking speeds (p<0.05). Only in the NLBP group, the AP COP excursion and ML COP deviation were lower in FWS than those of PWS. The factor of gait variability in the CNSLBP group were significantly greater than those NLBP during PWS (p<0.05). Gait variability decreased during FWS in both groups. Gait velocity was slower in CNSLBP than in the control group during PWS (p<0.05), while there was not a significant difference between groups at FWS. In conclusion; CNSLBP exhibited poor postural control in AP direction and no adaptation of postural control at FWS. CNSLBP increased gait variability during PWS. However, the fastest walking speed should be concerned when applied in person with CNSLBP due to maladaptation of postural control. | en |
dc.description.abstract | อาการปวดหลังส่วนล่างเรื้อรังทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของระบบประสาทรับความรู้สึกบริเวณเอ็นและกล้ามเนื้อและเกิดความผิดปกติในการควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อ โดยการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว อาจรบกวนการระบบประสาทอัตโนมัติซึ่งทำหน้าที่ในการควบคุมการทรงตัวและทำให้เกิดความั่นคงขณะเดิน การเดินที่ความเร็วสูงสุดอาจทำให้เกิดความผิดปกติในการควบคุมการทรงตัวและเกิดความไม่มั่นคงขณะเดิน ดังนั้นการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของความเร็วในการเดินต่อการควบคุมการทรงตัว ความแปรปรวนการเดิน และค่า temporospatial ขณะเดินด้วยความเร็วปกติ และเดินด้วยความเร็วสูงสุด ศึกษาในกลุ่มปวดหลังส่วนล่างเรื้อรังแบบไม่เฉพาะเจาะจงและกลุ่มไม่ปวดหลังกลุ่มละ 20 คน ให้อาสาสมัครเดินบนสายพานด้วยความเร็วปกติและความเร็วสูงสุดของแต่ละคนอย่างละ 3 นาทีและพัก 3 นาที ระหว่างการทดสอบแต่ละครั้ง บันทึกข้อมูลค่าความสามารถในการทรงตัวด้วยค่า center of pressure (COP) และ ค่า temporospatial ขณะเดินแต่ละความเร็วเป็นเวลา 3 นาทีและพักเป็นเวลา 3 นาที ระหว่างการเดินแต่ละความเร็ว ผลการวิจัยพบว่า COP เคลื่อนไปในทิศด้านหน้าและค่าความแปรปรวนของ COP ในทิศด้านข้างขณะเดินที่ความเร็วปกติ และเดินที่ความเร็วสูงสุดในกลุ่มที่มีอาการปวดหลังเรื้อรังมีมากกว่ากลุ่มที่ไม่ปวดหลังอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p <0.05) กลุ่มที่ไม่ปวดหลังมีการเคลื่อนของ COP ในทิศด้านหน้าและความแปรปรวนของ COP ในทิศด้านข้างขณะเดินด้วยความเร็งปกติมากกว่าขณะเดินที่ความเร็วสูงสุดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p <0.05) ขณะที่กลุ่มที่ปวดหลังเรื้อรังไม่พบความแตกต่างของค่า COP ระหว่างการเดินที่ความเร็วปกติและเดินที่ความเร็วสูงสุด ความแปรปรวนของ temporospatial ขณะเดินที่ความเร็วปกติพบว่า ขณะเดินด้วยความเร็วปกติกลุ่มที่ปวดหลังเรื้อรังมีค่าความแปรปรวนของ temporospatial มากกว่ากลุ่มที่ไม่ปวดหลังอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p <0.05) และพบว่า ความแปรปรวนของ temporospatial ขณะเดินที่ความเร็วปกติมีค่ามากกว่าขณะเดินที่ความเร็วสูงสุดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p <0.05) ในทั้งสองกลุ่ม ขณะเดินด้วยความเร็วปกติ พบว่า ผู้ที่มีปวดหลังเรื้อรังจะเดินช้ากว่าผู้ที่ไม่ปวดหลัง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p <0.05) แต่ไม่พบความแตกต่างทางสถิติขณะเดินที่ความเร็ว สรุปผลการศึกษา กลุ่มที่มีอาการปวดหลังส่วนล่างเรื้อรังแบบไม่เฉพาะเจาะจงมีความบกพร่องในการควบคุมการทรงตัวขณะเดินและไม่มีการปรับตัวของระบบควบคุมการทรงตัวขณะเดินด้วยความเร็วสูงสุด มีความแปรปรวนของ temporospatial เพิ่มขึ้นขณะเดินด้วยความเร็วปกติ ดังนั้นผู้ที่ปวดหลังส่วนล่างเรื้อรังควรคำนึงถึงความผิดปกติในการควบคุมการทรงตัวขณะเดินที่ความเร็วสูงสุด | th |
dc.language.iso | en | |
dc.publisher | Srinakharinwirot University | |
dc.rights | Srinakharinwirot University | |
dc.subject | ปวดหลังส่วนล่างเรื้อรัง | th |
dc.subject | การควบคุมการทรงตัว | th |
dc.subject | ความแปรปรวนของการเดิน | th |
dc.subject | ความเร็วในการเดิน | th |
dc.subject | Chronic lower back pain | en |
dc.subject | Postural sway | en |
dc.subject | Gait variability | en |
dc.subject | Walking speed | en |
dc.subject.classification | Health Professions | en |
dc.title | EFFECT OF WALKING SPEED ON POSTURAL SWAY, GAIT VARIABILITY AND TEMPOROSPATIAL GAIT IN PERSON WITH CHRONIC NON-SPECIFIC LOW BACK PAIN | en |
dc.title | ผลของความเร็วในการเดินต่อการควบคุมการทรงตัว ความแปรปรวนของการเดินและ temporospatial ขณะเดินในผู้ที่มีอาการปวดหลังเรื้อรังแบบไม่เฉพาะเจาะจง | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | ปริญญานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | Faculty of Health Science |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
gs581120014.pdf | 1.6 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.